Page 15 - rubber
P. 15
1-3
1) การวิเคราะห์เพื่อจัดท าหน่วยที่ดิน โดยใช้โปรแกรมระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ในการ
ซ้อนทับข้อมูลแผนที่ต่าง ๆ และแจกแจงตารางคุณภาพที่ดินของหน่วยที่ดิน
2) การประเมินคุณภาพที่ดินด้านกายภาพ เป็นการจ าแนกชั้นความเหมาะสมโดยใช้
หลักการประเมินความเหมาะสมของที่ดินตามระบบของ FAO Framework (1983) ท าการเปรียบเทียบ
ความต้องการของประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดิน (Land use requirements) กับคุณภาพที่ดินของ
หน่วยที่ดิน (Land qualities) และจ าแนกชั้นความเหมาะสมของที่ดินออกเป็น 4 ชั้น ดังนี้
S1 : ชั้นที่มีความเหมาะสมสูง (Highly suitable)
S2 : ชั้นที่มีความเหมาะสมปานกลาง (Moderately suitable)
S3 : ชั้นที่มีความเหมาะสมเล็กน้อย (Marginally suitable)
N : ชั้นที่ไม่มีความเหมาะสม (Not suitable)
3) วิเคราะห์นโยบายและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการทรัพยากรต่างๆ
ทั้งด้านการอนุรักษ์และพัฒนาที่มีผลต่อสถานภาพของทรัพยากรที่เป็นปัญหาในปัจจุบัน เพื่อเสนอแนะ
แนวทางการจัดการการใช้ที่ดิน และใช้พิจารณาการก าหนดเขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจยางพาราที่มี
ประสิทธิภาพ เป็นการแก้ปัญหาเชิงพื้นที่
4) จัดท ำเขตกำรใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจยำงพำรำ โดยน ำผลกำรวิเครำะห์ด้ำนทรัพยำกรธรรมชำติ
และสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจและสังคม พื้นที่ตั้งโรงงำนกำรผลิตและแปรรูปผลิตภัณฑ์จำกยำงพำรำมำ
ประกอบกำรพิจำรณำ ตลอดจนนโยบำยของรัฐที่เกี่ยวข้องด้วยกำรสร้ำงแผนที่เขตกำรใช้ที่ดินพืช
เศรษฐกิจยำงพำรำ
1.3.4 การกําหนดเขตการปลูกพืชเศรษฐกิจยางพารา
วิเคราะห์ข้อมูลด้านกายภาพ เศรษฐกิจ และนโยบายของรัฐเพื่อก าหนดเขตการปลูก
พืชเศรษฐกิจยางพารา
1.3.5 จัดทํารายงานและแผนที่
จัดท ารายงานและแผนที่เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจยางพารา ทั้งในรูปดิจิตอล และ
รูปเล่มรายงาน
1.4 ขอบเขตที่ดําเนินการ
1.4.1 ระยะเวลา 1 ตุลาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2563
1.4.2 ขอบเขตที่ศึกษา พื้นที่ท าการเกษตรที่ปลูกยางพารา
1.4.3 พืชเศรษฐกิจ ยางพาราส าหรับอุตสาหกรรมการแปรรูปต่าง ๆ และการบริโภค
ภายในประเทศและการส่งออก
เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจยางพารา กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน