Page 14 - rubber
P. 14

1-2





                  โดยชี้แจงให้เกษตรกรทราบถึงศักยภาพการปลูกพืชในเขตพื้นที่ที่มีมีศักยภาพเหมาะสมในการเพิ่ม

                  ผลผลิต (ระยะน้อยกว่า 50 กิโลเมตรจากโรงงาน และระยะมากกว่า 50 กิโลเมตรจากโรงงาน) ซึ่งจะมี

                  เนื้อที่ถึง 16,161,197 ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 71.95 ของเนื้อที่เขตการใช้ที่ดิน หากเป็นเขตการใช้ที่ดิน
                  บริเวณอื่น อาจท าให้ผลผลิตยางพาราต่ ากว่าเกณฑ์มาตรฐาน และไม่ได้คุณภาพ ท าให้เกษตรกรมีต้นทุน

                  การผลิตสูง และอีกเป้าหมายยุทธศาสตร์ที่ต้องการให้มีปริมาณผลผลิตยางพาราเพิ่มขึ้นจาก

                  224 กิโลกรัม/ไร่/ปีเป็น 360 กิโลกรัม/ไร่/ปี ให้ได้ภายในปี 2579 นั้นควรเร่งด าเนินการจัดหาปัจจัยการผลิต
                  ในพื้นที่เขตการใช้ที่ดินที่มีศักยภาพในการเพิ่มผลผลิต และสร้างความเข้าใจให้เกษตรกรเพิ่มผลผลิตต่อไร่

                  ให้มากยิ่งขึ้นต่อไป

                  1.2   วัตถุประสงค์


                        1) เพื่อจัดท ำเขตกำรใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจยำงพำรำ ให้เหมำะสมกับทรัพยำกรธรรมชำติและ
                  สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจสังคม พื้นที่ตั้งโรงงำนกำรผลิตและแปรรูปผลิตภัณฑ์จำกยำงพำรำ
                        2) เพื่อสนับสนุนเป้ำหมำยยุทธศำสตร์ยำงพำรำระยะ 20 ปี

                  1.3   ขั้นตอนและวิธีการดําเนินการ

                        1.3.1  การรวบรวมข้อมูลทั่วไป
                            ข้อมูลที่น ามาใช้เป็นฐานในการศึกษาและวิเคราะห์ มีทั้งข้อมูลเชิงอรรถาธิบายและข้อมูล

                  เชิงพื้นที่ดังนี้

                            1) ข้อมูลเชิงอรรถาธิบาย ได้แก่ ข้อมูลด้านทรัพยากรต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง คือ สภาพภูมิอากาศ
                  ทรัพยากรดิน ทรัพยากรน้ า ทรัพยากรป่าไม้ สภาพการใช้ที่ดิน ตลอดจนนโยบายของรัฐบาลที่เกี่ยวข้อง

                  และโครงสร้างพื้นฐานอื่น ๆ

                            2) ข้อมูลเชิงพื้นที่ ได้แก่ ข้อมูลแผนที่สภาพภูมิประเทศ และขอบเขตการปกครอง แผนที่
                  กลุ่มชุดดิน แผนที่การใช้ที่ดิน เป็นต้น

                        1.3.2  การรวบรวมข้อมูลทางด้านเศรษฐกิจและสังคม
                              ท าการรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มเศรษฐกิจที่ดิน กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดินกรมพัฒนาที่ดิน

                  และข้อมูลจากหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ การยางแห่งประเทศไทย กรมการค้าภายใน กรมวิชาการ
                  เกษตรส านักงานเศรษฐกิจการเกษตรและเอกสาร/วารสารต่าง ๆ เป็นต้น

                        1.3.3  การนําเข้าและวิเคราะห์ข้อมูล
                            การน าเข้าและวิเคราะห์ข้อมูลทั้งข้อมูลเชิงพื้นที่และข้อมูลเชิงอรรถาธิบาย โดยท าการเก็บ

                  และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยระบบคอมพิวเตอร์ โดยใช้โปรแกรมส าเร็จรูปและโปรแกรมระบบสารสนเทศ
                  ภูมิศาสตร์

                            การวิเคราะห์ข้อมูลจะท าการวิเคราะห์ข้อมูลเฉพาะด้านต่าง ๆ แล้วจึงน าข้อมูลด้านต่าง ๆ

                  ไปวิเคราะห์รวมเพื่อก าหนดเขตการใช้ที่ดิน โดยมีการวิเคราะห์ข้อมูลเฉพาะด้านดังนี้




                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจยางพารา                             กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19