Page 67 - rambutan
P. 67

2-45






                  ตารางที่ 2-9 (ต่อ)
                                                   พื นที่ปลูก   พื นที่เก็บเกี่ยว   ผลผลิต   ผลผลิตเฉลี่ย
                              จังหวัด
                                                     (ไร่)         (ไร่)         (ตัน)        (กก./ไร่)
                   สุราษฎร์ธานี                         32,930        32,659        31,060         951

                   พังงา                                 5,409         5,298         2,252         425
                   ภูเก็ต                                 241           241           110          456
                   กระบี่                                1,509         1,467          605          412

                   ตรัง                                  1,725         1,592          632          397
                   นครศรีธรรมราช                        33,744        33,377        15,754         472

                   พัทลุง                                5,255         4,014         1,552         387
                   สงขลา                                 3,889         3,640          939          258

                   สตูล                                  2,455         2,455         1,562         636
                   ปัตตานี                               1,667         1,579          542          343
                   ยะลา                                  3,302         3,270         1,456         445

                   นราธิวาส                             26,835        29,032         8,390         322
                   จังหวัดอื่น ๆ                          330           196           132          673

                  หมายเหตุ :   จังหวัดอื่น ๆ ได้แก่ จังหวัดแม่ฮ่องสอน อุทัยธานี เพชรบูรณ์ ยโสธรและนครราชสีมา

                  ที่มา :   ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, 2557 และ 2560

                    2.6.2  การตลาดและราคาผลผลิต

                        2.6.2.1  โครงสร้างการตลาดเงาะ

                                การจ าหน่ายผลผลิตเงาะเริ่มจากเกษตรกร จ าหน่ายต่อได้ 4 รูปแบบคือ ผู้รวบรวม
                  ท้องถิ่นหรือกลุ่มเกษตรกร พ่อค้าขายส่งท้องถิ่นหรือพ่อค้าขายส่งในเมือง พ่อค้าเร่รับซื้อเงาะจากเกษตรกร

                  หรือผู้รวบรวมท้องถิ่น หรือผู้ค้าส่งในตลาด เพื่อน าไปจ าหน่ายต่อให้กับผู้บริโภค หรือตลาดใน

                  กรุงเทพและต่างจังหวัด และผู้ส่งออกรับซื้อเงาะจากเกษตรกรที่มีผลผลิตคุณภาพดี หรือผู้รวบรวม
                  ท้องถิ่น หรือพ่อค้าขายส่งในเมือง ซึ่งเป็นแหล่งผลิตเพื่อส่งออกในรูปเงาะสด หรือเงาะกระป๋อง

                  ส าหรับวิถีการตลาดของเงาะ ส่วนหนึ่งใช้บริโภคภายในประเทศในรูปผลสดและเข้าโรงงานแปรรูป

                  เป็นผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ และอีกส่วนหนึ่งส่งออกซึ่งส่งออกในรูปของผลไม้สดและผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ
                  การกระจายผลผลิตจะกระจายผลผลิตไปยังพ่อค้าเร่ พ่อค้าขายส่งท้องถิ่น โรงงานแปรรูป พ่อค้าขายส่ง

                  กรุงเทพฯ และผู้ส่งออกหรือตัวแทนผู้ส่งออก (รูปที่ 2-2)
   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72