Page 126 - rambutan
P. 126

3-52





                  และก าจัดวัชพืช/ศัตรูพืช/โรคพืช แรงงานคนช่วงที่ยังไม่ให้ผลผลิต ปีที่ 1 เตรียมดิน ขุดหลุมปลูก ใส่ปุ๋ ย

                  ให้น ้า/ดูแลน ้าและคลุมโคนต้น ปีที่ 2-3 ใช้ในการใส่ปุ๋ ย ได้แก่ ปุ๋ ยเคมี (ส่วนใหญ่ใช้สูตร 13-13-21  15-15-15

                  16-16-16 และ 8-24-24 เป็นต้น) ปุ๋ ยคอก ปุ๋ ยหมักและปุ๋ ยชีวภาพ การให้น ้า แต่งกิ่ง เก็บและคัดแยก
                  ผลผลิต ใช้สารเร่งการเจริญเติบโต สารป้องกันและก าจัดวัชพืช/ศัตรูพืช/โรคพืช การศึกษาการใช้

                  ปัจจัยการผลิตเงาะจ าแนกเป็นระดับประเทศ ภาค ความเหมาะสมทางกายภาพของพื้นที่และช่วงอายุ

                  ดังต่อไปนี้
                            1)  การใช้ปัจจัยการผลิตระดับประเทศและภาค จากการส ารวจพบว่าเกษตรกรมีพื้นที่

                  ปลูกเฉลี่ย 3.76 ไร่ต่อราย (ภาคตะวันออก 4.11 ไร่ต่อราย ภาคใต้ 2.95 ไร่ต่อราย) พื้นที่เก็บผลผลิต

                  เฉลี่ย 3.09 ไร่ต่อราย (ภาคตะวันออก 3.29 ไร่ต่อราย ภาคใต้ 2.61 ไร่ต่อราย) จ านวนต้น 20 ต้นต่อไร่
                  (ภาคตะวันออก 20 ต้นต่อไร่ ภาคใต้จ านวน 19 ต้นต่อไร่) การใช้ปัจจัยต่างๆ ได้แก่ แรงงานคนเฉลี่ย 12.43

                  วันต่อคนต่อไร่ (ภาคตะวันออก 13.28 วันต่อคนต่อไร่ ภาคใต้ 9.63 วันต่อคนต่อไร่) แรงงานเครื่องจักร
                  เฉลี่ย 8.81 ชั่วโมงต่อไร่ (ภาคตะวันออก 8.85 ชั่วโมงต่อไร่ ภาคใต้ 8.72 ชั่วโมงต่อไร่) ปุ๋ ยเคมีเฉลี่ย

                  101.53 กิโลกรัมต่อไร่ (ภาคตะวันออก 104.25 กิโลกรัมต่อไร่ ภาคใต้ 92.64 กิโลกรัมต่อไร่) ปุ๋ ยคอก

                  เฉลี่ย 184.69 กิโลกรัมต่อไร่ (ภาคตะวันออก 238.31 กิโลกรัมต่อไร่ ภาคใต้ 9.82 กิโลกรัมต่อไร่) ปุ๋ ย
                  ชีวภาพชนิดเม็ดเฉลี่ย 5.28 กิโลกรัมต่อไร่ (ภาคตะวันออก 4.24 กิโลกรัมต่อไร่ ภาคใต้ 8.70 กิโลกรัม

                  ต่อไร่) นอกนั้น ได้แก่ ฮอร์โมนเกสรตัวผู้ สารเร่งการเจริญเติบโต สารป้องกันและก าจัดวัชพืช/
                  ศัตรูพืช/โรคพืช ซึ่งส่วนใหญ่ปริมาณการใช้ในภาคตะวันออกมากกว่าในภาคใต้ (ตารางที่ 3-5)

                            2)  การใช้ปัจจัยการผลิตจ าแนกตามระดับความเหมาะสมของพื้นที่ จากการส ารวจพบว่า

                  ในพื้นที่ที่มีระดับความเหมาะสมสูง (S1) เกษตรกรมีพื้นที่ปลูกเฉลี่ย 3.46 ไร่ต่อราย พื้นที่เก็บผลผลิต
                  เฉลี่ย 3.12 ไร่ต่อราย พื้นที่ที่มีระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) พื้นที่ปลูกเฉลี่ย 3.04 ไร่ต่อราย

                  พื้นที่เก็บผลผลิตเฉลี่ย 2.56 ไร่ต่อราย และพื้นที่ที่มีระดับความเหมาะสมเล็กน้อย (S3) เกษตรกร

                  มีพื้นที่ปลูกเฉลี่ย 4.66 ไร่ต่อราย พื้นที่เก็บผลผลิตเฉลี่ย 3.34 ไร่ต่อราย ซึ่งมากกว่าพื้นที่ที่มีระดับ
                  ความเหมาะสมสูง (S1) และพื้นที่ที่มีระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) ในพื้นที่ที่มีความเหมาะสม

                  ทั้ง 3 ระดับ ใช้แรงงานคนเฉลี่ย 11.14-13.00 วันต่อคนต่อไร่ ใช้มากที่สุดในพื้นที่ที่มีระดับความ

                  เหมาะสมสูง (S1) แรงงานเครื่องจักร 3.00-10.11 ชั่วโมงต่อไร่ ใช้มากที่สุดในพื้นที่ที่มีระดับความ
                  เหมาะสมสูง (S1) ปุ๋ ยเคมี 90.00-112.28 กิโลกรัมต่อไร่ ใช้ปริมาณมากที่สุดในพื้นที่ที่มีระดับความ

                  เหมาะสมสูง (S1) ปุ๋ ยชีวภาพชนิดเม็ด 4.18-8.99 กิโลกรัมต่อไร่ ใช้ปริมาณมากที่สุดในพื้นที่ที่มีระดับ
                  ความเหมาะสมปานกลาง (S2) สารเร่งการเจริญเติบโตชนิดน ้า/สารก าจัดโรคพืชชนิดน ้าส่วนใหญ่ต ่า

                  กว่า 1 ลิตรต่อไร่ หรือชนิดผง/เม็ดต ่ากว่า 1 กิโลกรัมต่อไร่ ใช้ปริมาณมากที่สุดในพื้นที่ที่มีระดับความ

                  เหมาะสมเล็กน้อย (S3) สารป้องกันและก าจัดวัชพืชชนิดน ้า 0.94-1.09 ลิตรต่อไร่ ใช้ปริมาณมากที่สุด
                  ในพื้นที่ที่มีระดับความเหมาะสมเล็กน้อย (S3) สารป้องกันและก าจัดศัตรูพืชชนิดน ้า 0.66-1.39 ลิตรต่อ
   121   122   123   124   125   126   127   128   129   130   131