Page 68 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจไพล
P. 68

3-22






                              ยุทธศาสตร์ที่ 2 การสร้างความมั่นคงของน้ าภาคการผลิต (เกษตรและอุตสาหกรรม)

                  เกี่ยวข้องและเชื่อมโยงในประเด็นเรื่องการแก้ไขปัญหาความยากจนและสนับสนุนความมั่นคงด้าน
                  เศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ รวมทั้งการลดความเสี่ยงที่จะเกิดการขาดแคลนน้ า
                              ยุทธศาสตร์ที่ 3 การจัดการน้ าท่วมและอุทกภัย : เกี่ยวข้องและเชื่อมโยงในประเด็น

                  เรื่อง การเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน โดยเฉพาะพื้นที่ต้นน้ า เปลี่ยนเป็นพื้นที่อยู่อาศัยและท าการเกษตร ท า
                  ให้การเกิดน้ าหลาก ดินถล่ม น้ าท่วมฉับพลัน เกิดขึ้นบ่อยและรุนแรง การใช้ที่ดินที่ไม่เหมาะสม
                              ยุทธศาสตร์ที่ 4 การจัดการคุณภาพน้ า : เกี่ยวข้องและเชื่อมโยงในประเด็นเรื่องการ
                  แก้ปัญหาคุณภาพน้ า และลดผลกระทบของระบบนิเวศในน้ า
                              ยุทธศาสตร์ที่ 5 การอนุรักษ์ฟื้นฟูสภาพป่าต้นน้ าที่เสื่อมโทรมและป้องกันการพังทลาย

                  ของดิน : เกี่ยวข้องและเชื่อมโยงในประเด็นเรื่องการเปลี่ยนแปลงสภาพการใช้ประโยชน์ที่ดินบริเวณ
                  พื้นที่ป่า การเก็บรักษาความชุ่มชื้น การดูดซับน้ า การชะลอการไหลของน้ า ที่เป็นแหล่งระบบนิเวศที่
                  ส าคัญของพื้นที่ต้นน้ า การชะล้างพังทลายของดินตามธรรมชาติ

                              ยุทธศาสตร์ที่ 6 การบริหารจัดการ : เกี่ยวข้องและเชื่อมโยงในประเด็นเรื่องการบริหาร
                  จัดการให้มีความเป็นเอกภาพทั้งในระดันโยบายและระดับปฏิบัติ
                        3.2.5 ยุทธศาสตร์การพัฒนาเกษตรอินทรีย์แห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2564
                            คณะรัฐมนตรีได้มีมติเรื่อง ยุทธศาสตร์การพัฒนาเกษตรอินทรีย์แห่งชาติ พ.ศ. 2560 –

                  2564 เมื่อวันที่ 11 เมษายน 2560 โดยมี 4 ยุทธศาสตร์ ดังนี้
                              ยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมการวิจัย การสร้างและเผยแพร่องค์ความรู้ และนวัตกรรม
                  เกษตรอินทรีย์
                              หลักการ ส่งเสริมการวิจัยทางด้านเกษตรอินทรีย์ สร้างนักวิจัยด้านเกษตรอินทรีย์รุ่น

                  ใหม่ และเผยแพร่งานวิจัยให้เกษตรกรสามารถน าผลการวิจัยไปประยุกต์ใช้ได้อย่างแท้จริง พร้อมทั้ง
                  บริหารจัดการองค์ความรู้ และฐานข้อมูลทางด้านเทคโนโลยีเกษตรอินทรีย์ ให้สามารถเข้าถึงข้อมูลได้
                  และเป็นข้อมูลที่ทันสมัย
                              กลยุทธ์  1.1 ส่งเสริมการวิจัย การสร้างและเผยแพร่องค์ความรู้เกี่ยวกับเกษตรอินทรีย์

                                    1.2 เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเรื่องเกษตรอินทรีย์แก่เกษตรกร สถาบัน
                  เกษตรกร บุคลากรที่เกี่ยวข้องและประชาชนทั่วไป
                                    1.3 สร้างฐานข้อมูลเกี่ยวกับการพัฒนาเกษตรอินทรีย์

                              ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาการผลิตสินค้าและบริการเกษตรอินทรีย์
                              หลักการพัฒนาการผลิต การแปรรูป บรรจุหีบห่อ และระบบโลจิสติกส์
                  โดยแบ่งเป็น 2 แนวทาง คือ การพัฒนาเกษตรอินทรีย์วิถีพื้นบ้าน และการพัฒนาเกษตรอินทรีย์เข้าสู่
                  มาตรฐานในระดับสากล
                              กลยุทธ์  2.1 พัฒนาศักยภาพการผลิตเกษตรอินทรีย์

                                    2.2 บริหารจัดการโครงสร้างพื้นฐานที่เอื้อต่อการผลิตเกษตรอินทรีย์อย่างมี
                  ประสิทธิภาพ
                              ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาการตลาดสินค้าและบริการ และการรับรองมาตรฐาน เกษตรอินทรีย์








                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจไพล                         กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73