Page 43 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจไพล
P. 43

2-31





                            สถานการณ์การค้าในประเทศเป้าหมาย

                              ไพลและผลิตภัณฑ์แปรรูปจากไพลของไทย มีโอกาสขยายตัวได้มากในประเทศจีน
                  และญี่ปุ่น ส าหรับประเทศจีน ไพลเป็นที่นิยมมากเนื่องจากผู้บริโภคชาวจีนมีความนิยมในธุรกิจสปา
                  ผลิตภัณฑ์ที่เป็นที่นิยม ได้แก่ น้ ามันเหลืองไพลและยาหม่องไพล ทั้งนี้อุปสรรคการส่งออกไปประเทศจีน

                  คือ การขึ้นทะเบียนองค์การอาหารและยา (อย.) ของประเทศจีนที่มีกระบวนการ ขั้นตอน และ
                  ระยะเวลาในการขอขึ้นทะเบียนใช้เวลานานส่งผลกระทบต่อต้นทุนของผู้ส่งออกที่สูงขึ้น ผู้ประกอบการ
                  จ าเป็นต้องร่วมมือกับบริษัทผู้น าเข้าของประเทศจีน เพื่อร่วมมือกันยื่นขอขึ้นทะเบียน อย. ผู้ส่งออก
                  หลายรายจึงส่งออกด้วยระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E – Commerce) ที่ยังไม่มีการตรวจสอบ
                  ผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่าและปริมาณจ าหน่ายไม่มากนัก รวมถึงการขายในรูปของฝากให้แก่นักท่องเที่ยวที่

                  เข้ามาเที่ยวในประเทศไทย ส าหรับคู่แข่งของไพลและผลิตภัณฑ์แปรรูปจากไพลในตลาดจีน มีคู่แข่ง
                  จากประเทศอื่นๆ ไม่มากนัก คู่แข่งหลัก คือ ผลิตภัณฑ์ของจีนเองเนื่องจากจีนเป็นตลาดที่มีความ
                  นิยมสินค้าสมุนไพรเป็นอย่างมาก มีโรงงานและบริษัทผู้ผลิตผลิตภัณฑ์สมุนไพรหลากหลายรูปแบบ

                  และราคาไม่แพง แต่ผลิตภัณฑ์ของจีนยังมีจุดอ่อนในด้านคุณภาพไม่ได้มาตรฐาน ท าให้ความนิยม
                  บริโภคสินค้าเป็นรองสินค้าจากต่างประเทศ โดยเฉพาะสินค้าสมุนไพรไทย
                              ในส่วนการส่งออกไปประเทศญี่ปุ่น มีการส่งออกหลายประเภททั้งน้ ามันเหลืองไพล
                  ยาหม่องและลูกประคบสมุนไพร โดยมีการส่งออกลูกประคบสมุนไพรมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 60

                  ของการส่งออกลูกประคบทั้งหมดของไทย เนื่องจากธุรกิจสปาในญี่ปุ่นมีการขยายตัวและได้รับความ
                  นิยมอย่างมาก ชาวญี่ปุ่นหลายรายเดินทางเข้ามาเรียนรู้การนวดแผนไทยในประเทศไทยและน ากลับไป
                  ประกอบอาชีพที่ญี่ปุ่นรวมถึงเป็นตัวแทนขายผลิตภัณฑ์สปาซึ่งรวมถึงลูกประคบด้วย ในด้านของคู่แข่ง
                  ไทยและผลิตภัณฑ์แปรรูปจากไทยในตลาดญี่ปุ่น ผลิตภัณฑ์ของไทยยังคงโดดเด่นและมีเอกลักษณ์

                  เป็นที่ต้องการของตลาดญี่ปุ่นเป็นอย่างมาก

                        2.6.2 ห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain) ไพลและผลิตภัณฑ์แปรรูป

                            ห่วงโซ่อุปทานของไพลและผลิตภัณฑ์แปรรูปจากไพล เชื่อมโยงกันใน 3 ส่วน คือ ขั้นต้นน้ า
                  (Upstream) ขั้นกลางน้ า (Midstream) และขั้นปลายน้ า (Downstream) ดังนี้ (รูปที่ 2-3)
                            1) ขั นต้นน ้า (Upstream)
                              ในขั้นต้นน้ าของห่วงโซ่อุปทานของไพลและผลิตภัณฑ์แปรรูปจากไพลนั้น เมื่อ

                  เกษตรกรผู้ปลูกไพลเก็บเกี่ยวผลผลิตมาจะกระจายผลผลิตไปในรูปไพลสด ร้อยละ 30 และตากแห้ง
                  เพื่อเป็นไพลแห้ง ร้อยละ 70 โดยจ าหน่ายต่อไปยังพ่อค้ารวบรวมหรือผู้แปรรูปขั้นต้นทั้งหมด ซึ่งในส่วน
                  ของไพลสดเกษตรกรจะเก็บไว้ท าพันธุ์ร้อยละ 5 และที่เหลืออีกร้อยละ 95 จ าหน่ายต่อไปยังพ่อค้า

                  รวบรวมหรือผู้แปรรูปขั้นต้น เช่นเดียวกันกับไพลแห้ง
                            2) ขั นกลางน ้า (Midstream)
                              ผลิตภัณฑ์ในขั้นกลางน้ าที่ได้จากการแปรรูปไพล เป็นผลิตภัณฑ์แปรรูปในขั้นต้นได้แก่
                  ไพลแผ่น ร้อยละ 40 และน้ ามันไพลสกัด ร้อยละ 60 โดยผู้ผลิตในขั้นกลางน้ า คือ พ่อค้ารวบรวมหรือผู้
                  แปรรูปขั้นต้น โดยไพลแผ่นจะใช้ในประเทศทั้งหมด ในขณะที่น้ ามันไพลสกัด จะใช้ในประเทศร้อยละ

                  80 และส่งออกร้อยละ 20 ไปยังประเทศจีน ร้อยละ 40 อินโดนีเซีย ร้อยละ 30 สหรัฐอเมริการ้อยละ






                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจไพล                         กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48