Page 140 - oil palm
P. 140

2-116






                        สําหรับพันธุปาลมน้ํามันที่นิยมปลูกกันอยางแพรหลายในปจจุบัน คือ พันธุเทเนอรา

                  (Tenera)ซึ่งเปนพันธุผสมระหวางพันธุดูราและพันธุฟสิเฟอรา ที่รวมเอาลักษณะเดนของทั้งสองพันธุเขาไว

                  ดวยกัน เปนพันธุที่ใหผลผลิตสูงและผลมีขนาดใหญ เนื้อนอกหนา เนื้อในและเปลือกบาง ใหเปอรเซ็นต
                  น้ํามันสูงประมาณรอยละ 23-26โดยปาลมน้ํามันจะเริ่มใหผลผลิตครั้งแรกเมื่ออายุประมาณ 30 เดือน นับจาก

                  หลังปลูกลงแปลงและจะใหผลผลิตอยางตอเนื่องสามารถเก็บเกี่ยวไดตลอดป แตจะเปนการตัดแบบเวียน

                  เก็บเกี่ยวจากทลายที่สุกแลวไปตลอดทั้งป ซึ่งเปนการตัดสลับเปลี่ยนไปไมครบทุกตนในสวนภายใน

                  ครั้งเดียว โดยรอบของการเก็บเกี่ยวผลผลิตปาลมน้ํามันจะอยูในชวง 10-20 วัน หรือเฉลี่ยประมาณ 15
                  วันตอครั้งปาลมน้ํามันจึงเปนสินคาเกษตรที่ไมมีฤดูกาลของผลผลิตที่จะออกสูตลาด แตมีชวงผลผลิต

                  ปาลมน้ํามันสดออกสูตลาดมาก 2 ชวง คือ ตนปราวเดือนมีนาคมถึงพฤษภาคมและปลายปราวเดือน

                  สิงหาคมถึงตุลาคม และชวงที่ปาลมน้ํามันติดลูกทลายนอยกวาปกติ หรือที่เรียกวาปาลมน้ํามันขาดคอ

                  เปนชวงเวลาที่ตนปาลมน้ํามันออกชอดอกตัวผูมากกวาชอดอกตัวเมีย นานประมาณ3 เดือน ชวงเดือน
                  ธันวาคมถึงเมษายนหรือชวงหนาแลง

                        2.6.1 แหลงผลิตที่สําคัญ

                             ปาลมน้ํามันเปนพืชที่สามารถปลูกไดดีในประเทศแถบรอนชื้นชวงละติจูด 20 องศาเหนือ -
                  20 องศาใต อุณหภูมิเฉลี่ย 20-30 องศาเซลเซียสปริมาณน้ําฝนไมนอยกวา 1,800-3,000 มิลลิเมตรตอป

                  การกระจายของน้ําฝนสม่ําเสมอ มีชวงแลงไมเกิน 2-3 เดือน แสงแดดจัดอยางนอยวันละ 5 ชั่วโมงดังนั้น

                  แหลงเพาะปลูกปาลมน้ํามันในประเทศไทยสวนมากจึงอยูแถบภาคใตสอดคลองกับรายงานจาก
                  สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร (2556) ซึ่งพบวา ในชวง 10 ปที่ผาน ตั้งแตป 2546-2555 ภาคใตมีเนื้อที่

                  เพาะปลูกและเนื้อที่ใหผลปาลมน้ํามันมากที่สุด รองลงมา คือ ภาคตะวันออก ภาคกลางภาคตะวันตก

                  ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคเหนือ (รูปที่ 2-1 และ รูปที่ 2-2)
   135   136   137   138   139   140   141   142   143   144   145