Page 62 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะเขือเทศ
P. 62

2-44






                               (6) กลุมชุดดินที่ 46B/55B เปนดินที่ประกอบดวยกลุมชุดดินที่ 46 และกลุมชุดดินที่ 55

                  มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย
                               (7) กลุมชุดดินที่ 46B/RL เปนดินที่ประกอบดวยกลุมชุดดินที่ 46 ที่มีสภาพพื้นที่เปน
                  ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย และเปนที่ดินที่เต็มไปดวยกอนหิน

                                (8) กลุมชุดดินที่ 46C เปนดินในกลุมชุดดินที่ 46 มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาด
                               (9) กลุมชุดดินที่ 46C/47C เปนดินที่ประกอบดวยกลุมชุดดินที่ 46 และกลุมชุดดินที่ 47
                  มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาด
                               (10) กลุมชุดดินที่ 46C/55C เปนดินที่ประกอบดวยกลุมชุดดินที่ 46 และกลุมชุดดินที่ 55

                  มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาด
                               (11) กลุมชุดดินที่ 46C/56C เปนดินที่ประกอบดวยกลุมชุดดินที่ 46 และกลุมชุดดินที่ 56
                  มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาด
                                (12) กลุมชุดดินที่ 46C/RL เปนดินที่ประกอบดวยกลุมชุดดินที่ 46 ที่มีสภาพพื้นที่เปน

                  ลูกคลื่นลอนลาด และเปนที่ดินที่เต็มไปดวยกอนหิน
                                (13) กลุมชุดดินที่ 46D เปนดินในกลุมชุดดินที่ 46 มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนชัน
                               (14) กลุมชุดดินที่ 46D/47D เปนดินที่ประกอบดวยกลุมชุดดินที่ 46 และกลุมชุดดินที่ 47
                  มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนชัน

                               (15) กลุมชุดดินที่ 46D/48D เปนดินที่ประกอบดวยกลุมชุดดินที่ 46 และกลุมชุดดินที่ 48
                  มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนชัน
                               (16) กลุมชุดดินที่ 46D/RL เปนดินที่ประกอบดวยกลุมชุดดินที่ 46 ที่มีสภาพพื้นที่เปน
                  ลูกคลื่นลอนลาดชัน และเปนที่ดินที่เต็มไปดวยกอนหิน

                                (17) กลุมชุดดินที่ 46E เปนดินในกลุมชุดดินที่ 46 มีสภาพพื้นที่เปนเนินเขา

                                 - ปญหาในการใชที่ดินดานเกษตรกรรม ไดแก เปนดินตื้น มีความอุดมสมบูรณต่ำ
                  บริเวณที่มีความลาดชันสูงมักมีปญหาการชะลางพังทลายของหนาดินไดงาย

                          กลุมชุดดินที่ 47
                          เปนกลุมชุดดินที่เกิดจากการสลายตัวผุพังอยูกับที่ หรือจากการสลายตัวผุพังแลวถูกเคลื่อนยาย
                  มาในระยะทางไมไกลนักของวัสดุเนื้อละเอียดที่มาจากทั้งหินตะกอนหรือหินอัคนี พบบริเวณพื้นที่

                  ดอนที่มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบถึงเนินเขา เปนดินตื้น มีการระบายน้ำดี เนื้อดิน
                  เปนพวกดินเหนียวหรือดินรวนที่มีเศษหินปะปนมาก มักพบชั้นหินพื้นตื้นกวา 50 เซนติเมตร พบกลุมชุดดิน
                  ยอยประกอบดวยหนวยแผนที่ ไดแก กลุมชุดดินที่ 47 47B 47B/48B 47B/52B 47B/55B 47B/56B

                  47B/ RC 47B/ RL 47Bb 47Bcal 47Bcal/ RC 47C 47C/ 48C 47C/ 52C 47C/ 55C 47C/ 56C
                  47C/59C 47C/RC 47C/RL 47Ccal 47Ccal/RC 47D 47D/48D 47D/49D 47D/53D 47D/55D
                  47D/56D 47D/RC 47D/RL 47Dcal/RC 47E 47E/48E 47E/52E 47E/55E 47E/56E 47E/RC
                  47E/RL และ 47Ecal/RC โดยมีรายละเอียดดังนี้











                  เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจมะเขือเทศ                         กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67