Page 61 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะเขือเทศ
P. 61

2-43





                                (9) กลุมชุดดินที่ 44B,d3c เปนดินในกลุมชุดดินที่ 44 มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่น

                  ลอนลาดเล็กนอย และพบมวลพอกหรือสารเม็ดกลมของเหล็กแมงกานีสที่ความลึก 50-100 เซนติเมตร
                                (10) กลุมชุดดินที่ 44Bb,d4clay เปนดินในกลุมชุดดินที่ 44 ที่พบชั้นดินเหนียวที่
                  ความลึก 100-150 เซนติเมตร มีการจัดการพื้นที่โดยการปนคันนา มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย

                                (11) กลุมชุดดินที่ 44B/44Bb เปนดินในกลุมชุดดินที่ 44 ที่มีการจัดการพื้นที่โดย
                  การปนคันนา มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย
                                (12) กลุมชุดดินที่ 44Bb,d4clay/44Bb เปนดินในกลุมชุดดินที่ 44 ที่พบชั้นดิน
                  เหนียวที่ความลึก 100-150 เซนติเมตร และกลุมชุดดินที่ 44 ที่มีการจัดการพื้นที่โดยการปนคันนา

                  มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย
                                (13) กลุมชุดดินที่ 44C เปนดินในกลุมชุดดินที่ 44 มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาด
                                (14) กลุมชุดดินที่ 44C/48C เปนดินที่ประกอบดวยกลุมชุดดินที่ 41 และกลุมชุดดินที่ 48
                  มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาด

                                (15) กลุมชุดดินที่ 44C,d3c/48C เปนดินที่ประกอบดวยกลุมชุดดินที่ 41 พบมวล
                  พอกหรือสารเม็ดกลมของเหล็กแมงกานีสที่ความลึก 50-100 เซนติเมตร และกลุมชุดดินที่ 48 มีสภาพ
                  พื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาด
                                (16) กลุมชุดดินที่ 44D เปนดินในกลุมชุดดินที่ 44 มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนชัน

                              - ปญหาในการใชที่ดินดานเกษตรกรรม ไดแก เนื้อดินเปนทรายจัดและหนามาก

                  พืชมีโอกาสขาดน้ำไดงาย ดินมีความอุดมสมบูรณต่ำและโครงสรางไมดี บริเวณที่มีความลาดชันสูง
                  มักมีปญหาเกี่ยวกับการชะลางพังทลายของหนาดิน

                          กลุมชุดดินที่ 46
                          เปนกลุมชุดดินที่เกิดจากวัตถุตนกำเนิดดินพวกตะกอนลำน้ำ หรือจากการสลายตัวผุพังอยู

                  กับที่หรือจากการสลายตัวผุพังแลวถูกเคลื่อนยายมาทับถมของวัสดุเนื้อละเอียดที่มาจากพวกหินตะกอน
                  หรือหินภูเขาไฟ พบบริเวณพื้นที่ดอนที่มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบถึงเนินเขา เปนดินตื้นมาก
                  มีการระบายน้ำดี เนื้อดินเปนพวกดินเหนียวปนกรวด ลูกรังหรือเศษหินที่มีเหล็กเคลือบ พบภายในความลึก
                  50 เซนติเมตร พบกลุมชุดดินยอยประกอบดวยหนวยแผนที่ ไดแก กลุมชุดดินที่ 46 46gm 46B 46Bb
                  46B/47B 46B/55B 46B/RL 46C 46C/47C 46C/55C 46C/56C 46C/RL 46D 46D/47D 46D/48D

                  46D/RL และ 46E โดยมีรายละเอียดดังนี้
                            (1) กลุมชุดดินที่ 46 มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ
                               (2) กลุมชุดดินที่ 46gm เปนดินในกลุมชุดดินที่ 46 มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือ

                  คอนขางราบเรียบ มีการแชขังของน้ำจากชั้นน้ำใตดิน ทำใหเกิดจุดประสีเทาภายในความลึก 75 เซนติเมตร
                                (3) กลุมชุดดินที่ 46B เปนดินในกลุมชุดดินที่ 46 มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย
                                (4) กลุมชุดดินที่ 46Bb เปนดินในกลุมชุดดินที่ 46 มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย
                  ที่มีการจัดการพื้นที่โดยการปนคันนา

                               (5) กลุมชุดดินที่ 46B/47B เปนดินที่ประกอบดวยกลุมชุดดินที่ 46 และกลุมชุดดินที่ 47
                  มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย






                  เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจมะเขือเทศ                         กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66