Page 59 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะเขือเทศ
P. 59

2-41





                          กลุมชุดดินที่ 41

                          เปนกลุมชุดดินที่เกิดจากการสลายตัวผุพังอยูกับที่ หรือจากการสลายตัวผุพังแลวถูกเคลื่อนยาย
                  มาทับถมของพวกวัสดุเนื้อหยาบหรือจากวัตถุตนกำเนิดดินพวกตะกอนลำน้ำหรือวัตถุน้ำพาจาก
                  บริเวณที่สูง วางทับอยูบนชั้นดินรวนหยาบหรือรวนละเอียด มีพื้นที่ดอนที่มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือ

                  คอนขางราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาด เปนดินลึกที่มีการระบายน้ำดีถึงดีปานกลาง เนื้อดินภายในความลึก
                  50-100 เซนติเมตร เปนดินทรายหรือดินทรายปนดินรวน สวนชั้นดินถัดลงไปเปนดินรวนปนทราย และ
                  ดินรวนเหนียวปนทราย พบกลุมชุดดินยอยประกอบดวยหนวยแผนที่ ไดแก กลุมชุดดินที่ 41 41d3c
                  41spod  41/ 41b  41b/ 44b  41B  41Bb  41Bd3c  41Bd3clay  41Bd3ss  41Bspod  41B/ 41Bb

                  41Bb/44B 41Bb/44Bb 41C 41Cd3clay 41C/44C และ 41C/56C โดยมีรายละเอียดดังนี้
                            (1) กลุมชุดดินที่ 41 มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ
                               (2) กลุมชุดดินที่ 41d3c เปนดินในกลุมชุดดินที่ 41 ที่พบมวลพอกหรือสารเม็ดกลม
                  ของเหล็กแมงกานีส ที่ความลึก 50-100 เซนติเมตร มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ

                               (3) กลุมชุดดินที่ 41spod เปนดินในกลุมชุดดินที่ 41 ที่พบชั้น spodic หรือชั้นสะสม
                  Fe/Al และอินทรียวัตถุ มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ
                            (4) กลุมชุดดินที่ 41/41b เปนดินในกลุมชุดดินที่ 41 และกลุมชุดดินที่ 41 ที่มีการ
                  จัดการพื้นที่โดยการปนคันนา มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ

                               (5) กลุมชุดดินที่ 41b/44b เปนดินที่ประกอบดวยกลุมชุดดินที่ 41 และกลุมชุดดินที่ 44
                  ที่มีการจัดการพื้นที่โดยการปนคันนา มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ
                                (6) กลุมชุดดินที่ 41B เปนดินในกลุมชุดดินที่ 41 มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขาง
                  ราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย

                                (7) กลุมชุดดินที่ 41Bb เปนดินในกลุมชุดดินที่ 41 มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่น
                  ลอนลาดเล็กนอย ที่มีการจัดการพื้นที่โดยการปนคันนา
                               (8) กลุมชุดดินที่ 41B,d3c เปนดินในกลุมชุดดินที่ 41 มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาด
                  เล็กนอย และพบมวลพอกหรือสารเม็ดกลมของเหล็กแมงกานีสที่ความลึก 50-100 เซนติเมตร

                               (9) กลุมชุดดินที่ 41B,d3clay เปนดินในกลุมชุดดินที่ 40 ที่พบชั้นดินเหนียวที่ความลึก
                  50-100 เซนติเมตร มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย
                               (10) กลุมชุดดินที่ 41B,d3ss เปนดินในกลุมชุดดินที่ 41 ที่พบชั้นหินทรายที่ความลึก

                  50-100 เซนติเมตร มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย
                               (11) กลุมชุดดินที่ 41B,spod เปนดินในกลุมชุดดินที่ 41 ที่พบชั้น spodic หรือชั้น
                  สะสม Fe/Al และอินทรียวัตถุ มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย
                            (12) กลุมชุดดินที่ 41B/41Bb เปนดินในกลุมชุดดินที่ 41 และกลุมชุดดินที่ 41 ที่มีการ
                  จัดการพื้นที่โดยการปนคันนา มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย

                               (13) กลุมชุดดินที่ 41Bb/44B เปนดินที่ประกอบดวยกลุมชุดดินที่ 41 ที่มีการจัดการ
                  พื้นที่โดยการปนคันนา มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย และกลุมชุดดินที่ 44 มีสภาพพื้นที่
                  เปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย








                  เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจมะเขือเทศ                         กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64