Page 149 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะเขือเทศ
P. 149

3-29





                  ตารางที่ 3-7 ปริมาณการใชปจจัยการผลิตพืชเศรษฐกิจมะเขือเทศภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

                             โดยจำแนกตามระดับความเหมาะสมของที่ดิน ปการผลิต 2562

                                                                พื้นที่ความเหมาะสมของที่ดิน
                     ปริมาณการใชปจจัยการผลิต             เหมาะสมสูง        เหมาะสม          เหมาะสม
                                                  หนวย
                                                              (S1)         ปานกลาง(S2)       เล็กนอย(S3)

                  ปุยเคมี                         กก.       93.27            93.00            80.76
                  ปุยอินทรีย/ปุยชีวภาพ          กก.       150.81             -              388.46

                  สารเรงการเจริญเติบโตชนิดน้ำ    ลิตร        0.59            0.40              0.42
                  สารเรงการเจริญเติบโตชนิดผง      กก.        0.22              -               0.04
                  สารปองกันและปราบศัตรูพืชชนิดน้ำ   ลิตร     0.79              -               0.33

                  สารปองกันและปราบศัตรูพืชชนิดผง   กก.       0.01            0.20              0.04

                  สารปองกันและปราบโรคพืชชนิดน้ำ   ลิตร       0.02            0.60              0.06
                  สารปองกันและปราบโรคพืชชนิดผง    กก.        0.94              -               0.17
                  น้ำมันเชื้อเพลิงและหลอลื่น     ลิตร        2.27            4.53              2.53

                  เนื้อที่เพาะปลูก             ไร/ครัวเรือน   2.10           2.50              2.36
                  ที่มา : กลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร (2562)

                        3.2.2 ตนทุน และผลตอบแทนจากการผลิต
                             ตนทุนในการจัดการดูแลรักษา ซึ่งรวมถึงการใชปจจัยการผลิตตางๆ ตลอดจนผลตอบแทน
                  การผลิตเปนเครื่องชี้ประสิทธิภาพในการผลิตใหเห็นถึงความเหมาะสมของการปลูกมะเขือเทศในพื้นที่ที่ดิน

                  มีความเหมาะสมตางกันและพื้นที่ภาคตางๆ ของประเทศ ดังนั้น จึงไดจำแนกการวิเคราะหออกเปน 2 ลักษณะ
                  ราคาผลผลิตที่นำมาคำนวณมูลคาผลผลิตหรือรายไดนั้นใชราคามะเขือเทศเฉลี่ยจากตัวอยาง
                  ซึ่งใชเปนราคาเดียวกันในการคำนวณมูลคาผลผลิตในทุกระดับความเหมาะสมของที่ดิน โดยราคามะเขือเทศ

                  ทั้งประเทศเฉลี่ย 4.66 บาทตอกิโลกรัม ราคามะเขือเทศภาคเหนือเฉลี่ย 4.64 บาทตอกิโลกรัม และ
                  ราคามะเขือเทศภาคตะวันออกเฉียงเหนือเฉลี่ย 4.69 บาทตอกิโลกรัม การที่ใชราคาดังที่กลาวก็เพื่อขจัดปญหา
                  ดานราคาที่แตกตางกันตามสถานที่ผลิตในแตละภาคและระยะเวลาจำหนายผลผลิต รายละเอียดดังนี้
                             1) ตนทุน และผลตอบแทนทั้งประเทศ

                             มะเขือเทศมีตนทุนทั้งหมดไรละ 10,631.82 บาท เปนตนทุนผันแปรไรละ 8,761.90 บาท
                  และตนทุนคงที่ไรละ 1,869.92 บาท คิดเปนรอยละ 82.41 และ 17.59 ของตนทุนทั้งหมด ตามลำดับ
                  ในจำนวนตนทุนทั้งหมดนั้นเปนตนทุนที่เปนเงินสดไรละ 4,992.59 บาท และไมเปนเงินสดไรละ
                  5,639.23 บาท ตนทุนผันแปรทั้งหมดนั้นสวนใหญรอยละ 49.29 เปนคาแรงงาน ปริมาณผลผลิตมะเขือเทศ

                  เฉลี่ย 4,363.71 กิโลกรัมตอไร ณ ราคาขายผลผลิต 4.66 บาทตอกิโลกรัม มูลคาของผลผลิตหรือรายได
                  เฉลี่ยตอไร 20,334.89 บาท ทำใหเกษตรกรไดรับผลตอบแทนเหนือตนทุนเงินสดไรละ 15,342.30 บาท
                  ผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรไรละ 11,572.99 บาท ผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมดไรละ 9,703.07 บาท
                  และเกษตรกรจะไดรับอัตราสวนผลไดตอตนทุนทั้งหมดเทากับ 1.91 (ตารางที่ 3-8)







                  เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจมะเขือเทศ                             กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   144   145   146   147   148   149   150   151   152   153   154