Page 147 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะเขือเทศ
P. 147

3-27





                                เมื่อจำแนกพื้นที่ตามความเหมาะสมของที่ดิน สำหรับการปลูกมะเขือเทศ ภาคเหนือ

                  พบวา ในเขตพื้นที่ที่มีชั้นความเหมาะสมสูง (S1) เกษตรกรมีเนื้อที่เพาะปลูกเฉลี่ย 3.41 ไรตอครัวเรือน
                  ขนาดของเนื้อที่ดังกลาวนับไดวาเปนไรขนาดเล็ก การดูแลรักษา พบวา มีการใชสารเคมีปราบวัชพืช
                  และสารเคมีปราบศัตรูพืช มีการใชแรงงานเครื่องจักรควบคูกับการใชแรงงานคน โดยมีคาใชจาย

                  คิดเปนรอยละ 49.66 ของตนทุนผันแปรทั้งหมด คาวัสดุการเกษตรนั้นมีมูลคาคิดเปนรอยละ 46.71
                  ของตนทุนผันแปรทั้งหมด ซึ่งจะเปนปุยเคมี 102.04 กิโลกรัมตอไร รองลงมา ปุยอินทรีย/ปุยชีวภาพ
                  20.00 กิโลกรัมตอไร พื้นที่ที่มีชั้นความเหมาะสมปานกลาง (S2) เกษตรกรมีเนื้อที่เพาะปลูกเฉลี่ย 2.68
                  ไรตอครัวเรือน ขนาดของเนื้อที่ดังกลาวนับไดวาเปนไรขนาดเล็ก การดูแลรักษา พบวา มีการใชสารเคมี

                  ปราบวัชพืชและสารเคมีปราบศัตรูพืช มีการใชแรงงานเครื่องจักรควบคูกับการใชแรงงานคน โดยมีคาใชจาย
                  คิดเปนรอยละ 50.08 ของตนทุนผันแปรทั้งหมด คาวัสดุการเกษตรนั้นมีมูลคาคิดเปนรอยละ 45.46
                  ของตนทุนผันแปรทั้งหมด ซึ่งจะเปนปุยเคมี 106.59 กิโลกรัมตอไร รองลงมา ปุยอินทรีย/ปุยชีวภาพ
                  13.11 กิโลกรัมตอไร และพื้นที่ที่มีชั้นความเหมาะสมเล็กนอย (S3) เกษตรกรมีเนื้อที่เพาะปลูกเฉลี่ย

                  4.57 ไรตอครัวเรือน ขนาดของเนื้อที่ดังกลาวนับไดวาเปนไรขนาดเล็ก การดูแลรักษา พบวา มีการใช
                  สารเคมีปราบวัชพืชและสารเคมีปราบศัตรูพืช มีการใชแรงงานเครื่องจักรควบคูกับการใชแรงงานคน
                  โดยมีคาใชจายคิดเปนรอยละ 50.39 ของตนทุนผันแปรทั้งหมด คาวัสดุการเกษตรนั้นมีมูลคาคิดเปนรอยละ
                  47.87 ของตนทุนผันแปรทั้งหมด ซึ่งจะเปนปุยเคมี 128.94 กิโลกรัมตอไร รองลงมา ปุยอินทรีย/ปุยชีวภาพ

                  15.63 กิโลกรัมตอไร (ตารางที่ 3-6)
                                เมื่อจำแนกพื้นที่ตามความเหมาะสมของที่ดิน สำหรับการปลูกมะเขือเทศ
                  ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พบวา ในเขตพื้นที่ที่มีชั้นความเหมาะสมสูง (S1) เกษตรกรมีเนื้อที่เพาะปลูกเฉลี่ย
                  2.10 ไรตอครัวเรือน ขนาดของเนื้อที่ดังกลาวนับไดวาเปนไรขนาดเล็ก การดูแลรักษา พบวา

                  มีการใชสารเคมีปราบศัตรูพืชและสารเคมีปราบโรคพืช มีการใชแรงงานเครื่องจักรควบคูกับการใชแรงงานคน
                  โดยมีคาใชจายคิดเปนรอยละ 46.94 ของตนทุนผันแปรทั้งหมด คาวัสดุการเกษตรนั้นมีมูลคาคิดเปนรอยละ
                  48.04 ของตนทุนผันแปรทั้งหมด ซึ่งจะเปนปุยอินทรีย/ปุยชีวภาพ 150.81 กิโลกรัมตอไร รองลงมา
                  ปุยเคมี 93.27 กิโลกรัมตอไร พื้นที่ที่มีชั้นความเหมาะสมปานกลาง (S2) เกษตรกรมีเนื้อที่เพาะปลูกเฉลี่ย

                  2.50 ไรตอครัวเรือน ขนาดของเนื้อที่ดังกลาวนับไดวาเปนไรขนาดเล็ก การดูแลรักษา พบวา
                  มีการใชสารเรงการเจริญเติบโตและสารเคมีปราบโรคพืช มีการใชแรงงานเครื่องจักรควบคูกับการใชแรงงานคน
                  โดยมีคาใชจายคิดเปนรอยละ 53.36 ของตนทุนผันแปรทั้งหมด คาวัสดุการเกษตรนั้นมีมูลคาคิดเปนรอยละ

                  44.16 ของตนทุนผันแปรทั้งหมด ซึ่งจะปุยเคมี 93.00 กิโลกรัมตอไร รองลงมา สารปองกันและ
                  ปราบโรคพืชชนิดน้ำ 0.60 ลิตรตอไร และพื้นที่ที่มีชั้นความเหมาะสมเล็กนอย (S3) เกษตรกรมีเนื้อที่
                  เพาะปลูกเฉลี่ย 2.36 ไรตอครัวเรือน ขนาดของเนื้อที่ดังกลาวนับไดวาเปนไรขนาดเล็ก การดูแลรักษา
                  พบวา มีการใชสารเคมีปราบศัตรูพืชและสารเคมีปราบโรคพืช มีการใชแรงงานเครื่องจักรควบคูกับการ
                  ใชแรงงานคน โดยมีคาใชจายคิดเปนรอยละ 53.75 ของตนทุนผันแปรทั้งหมด คาวัสดุการเกษตรนั้น

                  มีมูลคาคิดเปนรอยละ 42.20 ของตนทุนผันแปรทั้งหมด ซึ่งจะเปนปุยอินทรีย/ปุยชีวภาพ 388.46 กิโลกรัมตอไร
                  รองลงมา ปุยเคมี 80.76 กิโลกรัมตอไร (ตารางที่ 3-7)








                  เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจมะเขือเทศ                             กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   142   143   144   145   146   147   148   149   150   151   152