Page 145 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะเขือเทศ
P. 145

3-25





                  3.2  การวิเคราะหขอมูลดานเศรษฐกิจและสังคม

                        มะเขือเทศเปนพืชไรชนิดหนึ่งที่มีความสำคัญทางดานเศรษฐกิจ สรางรายไดใหแกเกษตรกร
                  เนื่องจากใหผลผลิตเร็วอายุการเก็บเกี่ยวผลผลิตประมาณ 70 - 90 วัน นิยมบริโภคอยางแพรหลาย
                  ทั้งในรูปแบบผลสด และผลิตภัณฑแปรรูปตางๆ กลุมเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร และกลุมวางแผน

                  บริหารจัดการพื้นที่ชุมน้ำ กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน ไดดำเนินการสำรวจขอมูลดานตนทุนและ
                  ผลตอบแทนโดยจำแนกตามความเหมาะสมของที่ดินของพื้นที่ปลูกมะเขือเทศทั้งประเทศ ทั้งนี้ไดแบงศึกษาเปน
                  3 สวน คือ สวนที่ 1 การใชปจจัยในการผลิต สวนที่ 2 ตนทุนการผลิต มูลคาผลผลิต (รายได) และ
                  ผลตอบแทนจากการผลิต สวนที่ 3 ปญหาความตองการความชวยเหลือจากรัฐและทัศนคติของเกษตรกร

                  ผูปลูกมะเขือเทศ ขอมูลที่ใชศึกษาไดจากการสำรวจเกษตรกรผูปลูกมะเขือเทศในจังหวัดที่เปนแหลงผลิต
                  ที่สำคัญของแตละภาค ทั้งนี้จำแนกการศึกษาตามความเหมาะสมของที่ดินที่สำรวจตัวอยางเกษตรกร
                  ผูปลูกมะเขือเทศไว 3 ระดับ คือ พื้นที่ที่มีชั้นความเหมาะสมสูง (S1) พื้นที่ที่มีชั้นความเหมาะสมปานกลาง (S2)
                  และพื้นที่ที่มีชั้นความเหมาะสมเล็กนอย (S3) และจำแนกตามแหลงการผลิตที่สำคัญ ไดแก ภาคเหนือ

                  และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สวนปญหาความตองการและทัศนคติของเกษตรกรจะศึกษาในภาพรวม
                  จำแนกตามภาค รายละเอียดผลการวิเคราะห ดังหัวขอตอไปนี้
                        3.2.1 การใชปจจัยในการผลิต
                             การจัดการไรมะเขือเทศดวยการดูแลรักษาที่ดีตลอดจนการใชปจจัยการผลิตในปริมาณ

                  ที่เหมาะสมกับสภาพดินจะสงผลใหมะเขือเทศใหปริมาณผลผลิตเปนไปตามศักยภาพของที่ดิน
                  ซึ่งจะทำใหเกษตรกรมีตนทุนในการผลิตไมสูงนัก ทั้งสามารถลดตนทุนการผลิตในปจจุบันลงไดอีก
                  โดยการใชปุยอินทรียและสารอินทรียทดแทนปุยเคมี และสารเคมีบางสวน ทำใหเกษตรกรไดรับ
                  ผลตอบแทนที่คุมคาตอการลงทุน ปจจัยการผลิตตางๆ ที่ใชในการผลิตมะเขือเทศ ดังนี้

                             1) ปจจัยการผลิตทั้งประเทศ
                                จากผลการสำรวจในปการผลิต 2562 พบวา เกษตรกรมีเนื้อที่เพาะปลูกเฉลี่ย 2.50 ไรตอครัวเรือน
                  ขนาดของเนื้อที่ดังกลาวนับไดวาเปนไรขนาดเล็ก การดูแลรักษา พบวา มีการใชสารเคมีปราบวัชพืช
                  และสารเคมีปราบศัตรูพืช มีการใชแรงงานเครื่องจักรควบคูกับการใชแรงงานคน โดยมีคาใชจาย

                  คิดเปนรอยละ 49.29 ของตนทุนผันแปรทั้งหมด คาวัสดุการเกษตรนั้นมีมูลคาคิดเปนรอยละ 46.32
                  ของตนทุนผันแปรทั้งหมด ซึ่งจะเปนปุยอินทรีย/ปุยชีวภาพ 100.58 กิโลกรัมตอไร รองลงมา ปุยเคมี
                  100.18 กิโลกรัมตอไร (ตารางที่ 3-4)

                                เมื่อจำแนกพื้นที่ตามความเหมาะสมของที่ดิน สำหรับการปลูกมะเขือเทศ พบวา
                  ในเขตพื้นที่ที่มีชั้นความเหมาะสมสูง (S1) เกษตรกรมีเนื้อที่เพาะปลูกเฉลี่ย 2.25 ไรตอครัวเรือน
                  ขนาดของเนื้อที่ดังกลาวนับไดวาเปนไรขนาดเล็ก การดูแลรักษา พบวา มีการใชสารเคมีปราบวัชพืชและ
                  สารเคมีปราบศัตรูพืช มีการใชแรงงานเครื่องจักรควบคูกับการใชแรงงานคน โดยมีคาใชจายคิดเปนรอยละ
                  47.39 ของตนทุนผันแปรทั้งหมด คาวัสดุการเกษตรนั้นมีมูลคาคิดเปนรอยละ 47.82 ของตนทุนผันแปรทั้งหมด

                  ซึ่งจะเปนปุยอินทรีย/ปุยชีวภาพ 128.76 กิโลกรัมตอไร รองลงมา ปุยเคมี 94.75 กิโลกรัมตอไร
                  พื้นที่ที่มีชั้นความเหมาะสมปานกลาง (S2) เกษตรกรมีเนื้อที่เพาะปลูกเฉลี่ย 2.67 ไรตอครัวเรือน
                  ขนาดของเนื้อที่ดังกลาวนับไดวาเปนไรขนาดเล็ก การดูแลรักษา พบวา มีการใชสารเคมีปราบวัชพืชและ

                  สารเคมีปราบศัตรูพืช มีการใชแรงงานเครื่องจักรควบคูกับการใชแรงงานคน โดยมีคาใชจายคิดเปนรอยละ





                  เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจมะเขือเทศ                             กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   140   141   142   143   144   145   146   147   148   149   150