Page 72 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจยาสูบ
P. 72

2-54





                  ตารางที่ 2-12  ปริมาณและมูลค่าการส่งออกและน้าเข้ายาสูบและผลิตภัณฑ์ยาสูบโลก ปี 2550 - 2559


                                                   ปริมาณ (ตัน)              มูลค่า (ล้านเหรียญสหรัฐฯ )
                           ปี
                                            ส่งออก             น้าเข้า         ส่งออก         น้าเข้า

                         2550              4,024,022         3,846,508       29,339.26      32,472.48

                         2551              4,159,762         3,852,519       33,256.28      34,993.38

                         2552              4,092,118         3,742,429       33,491.26      36,236.89
                         2553              3,983,439         3,913,264       34,052.14      38,717.76


                         2554              4,097,945         3,973,053       38,089.22      44,452.89
                         2555              4,364,888         4,235,517       38,821.05      45,105.55

                         2556              4,372,623         4,095,037       40,648.27      44,352.55

                         2557              4,373,807         4,264,555       43,606.74      47,210.94

                         2558              4,157,933         4,065,072       38,799.73      42,066.78

                         2559              4,419,288         4,019,061       40,513.35      42,288.67

                   อัตราเพิ่ม (ร้อยละ)       0.92              0.99             3.61           3.33

                  ที่มา : ดัดแปลงข้อมูลจากองค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (2560)

                        2.6.2 สถานการณ์ยาสูบในประเทศ
                             1) สถานการณ์การผลิต

                                ยาสูบเป็นพืชที่มีการควบคุมตามกฎหมาย ทั้งในด้านการปลูก การซื้อขาย การบ่มใบยา
                  การส่งออกและการน าเข้า ซึ่งผู้ด าเนินการควบคุม คือ กรมสรรพสามิต กระทรวงการคลัง ดังนั้นผู้ปลูก
                  ยาสูบจะต้องขออนุญาตจากกรมสรรพสามิต กระทรวงการคลังก่อน ยกเว้น พันธุ์ยาสูบพื้นเมือง ซึ่งไม่
                  ต้องมีการขออนุญาต โดยในส่วนของการใช้ใบยาสูบในประเทศไทย มีโรงงานยาสูบ กระทรวงการคลัง

                  เป็นหน่วยงานเดียวที่ใช้ใบยาสูบท าการมวนบุหรี่และจ าหน่ายในประเทศ โดยใช้ใบยาเวอร์ยิเนียร้อยละ 68
                  และใบยาเบอร์เลย์ และเตอร์กิชเพียงเล็กน้อย ซึ่งแต่เดิมจะต้องน าเข้าใบยาจากต่างประเทศเพื่อน ามา
                  ปรุงรสแต่งกลิ่น ในอัตราส่วนใบยาต่างประเทศและใบยาไทยในสัดส่วน 60 และ 40 เปอร์เซ็นต์ แต่
                  ปัจจุบันได้น าใบยาของไทยมาใช้ส่วนใหญ่ เนื่องจากมีคุณภาพและรสชาติดีขึ้น ท าให้การน าเข้าใบยาจาก

                  ต่างประเทศลดลงสามารถประหยัดเงินได้เป็นจ านวนมาก














                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจยาสูบ                               กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน
   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77