Page 47 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจยาสูบ
P. 47

2-29





                              แม่น ้าน่าน มีแหล่งก าเนิดจากเทือกเขาตอนเหนือของจังหวัดน่านและไหลลงใต้ผ่านที่ราบ

                  ผืนแคบๆ ของจังหวัดน่าน แล้วไหลผ่านซอกเขาลงมาทางใต้จนถึงอ าเภอท่าปลา จังหวัดอุตรดิตถ์
                  จากนั้นแม่น้ าน่านจะเริ่มเบนตัวไปทางทิศตะวันตกและไหลออกสู่ที่ราบจังหวัดอุตรดิตถ์ พิษณุโลก พิจิตร
                  แล้วมาบรรจบกับแม่น้ ายมที่อ าเภอชุมแสง แล้วจึงไหลเข้ารวมกับแม่น้ าปิงไหลลงสู่แม่น้ าเจ้าพระยา

                  ที่จังหวัดนครสวรรค์ แม่น้ าน่านมีความยาวประมาณ 615 กิโลเมตร
                             2)  แหล่งน ้าในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
                                 แหล่งน้ าในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีแม่น้ าที่ส าคัญ คือ
                                แม่น ้าโขง เป็นแม่น้ าที่มีต้นก าเนิดจากทิเบต บางส่วนจึงมาเป็นพรมแดนของประเทศไทย
                  กับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวทางตะวันออกของประเทศ เป็นแม่น้ าที่มีสาขาที่เกิดจาก

                  แม่น้ าในประเทศหลายสายทั้งในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือได้แก่ แม่น้ ามูล แม่น้ าชี และ
                  แม่น้ าสงคราม
                                แม่น ้ามูล ต้นน้ าเกิดจากเทือกเขาสันก าแพงในเขตอ าเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา

                  ออกสู่แม่น้ าโขงที่บ้านด่าน ต าบลบ้านด่าน อ าเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี ฤดูฝนน้ าจะเอ่อท่วมที่ราบ
                  ริมฝั่งแม่น้ า ซึ่งเป็นประโยชน์แก่การท านา มีความยาวประมาณ 641 กิโลเมตร เป็นแม่น้ าสายส าคัญของ
                  อีสานตอนล่าง
                                แม่น ้าชี ต้นน้ าเกิดจากเทือกเขาพญาฝ่อในเทือกเขาเพชรบูรณ์ทางตะวันตกเฉียงเหนือ

                  ของจังหวัดชัยภูมิ มีแม่น้ าสาขาที่ส าคัญ คือ ล าน้ าพอง ล าปาว และล าคันฉู แม่น้ าชีมีความยาวประมาณ
                  765 กิโลเมตร เป็นแม่น้ าสายที่ยาวที่สุดในประเทศไทย
                                แม่น ้าสงคราม ต้นน้ าเกิดจากเทือกเขาภูพานไหลผ่านจังหวัดสกลนคร จังหวัดอุดรธานี
                  และไหลลงแม่น้ าโขงที่อ าเภอท่าอุเทน จังหวัดนครพนม ในฤดูน้ ามีน้ ามาก แต่ฤดูแล้งน้ าแห้งเป็นตอนๆ

                            3) แหล่งน ้าตามธรรมชาติในภาคกลาง
                              แหล่งน้ าธรรมชาติในภาคกลางจากการที่ลักษณะภูมิประเทศของภาคนี้เป็นที่ราบลุ่ม
                  กว้างใหญ่ ซึ่งได้ชื่อว่าเป็นอู่ข้าวอู่น้ าของประเทศไทย มีแม่น้ าที่ส าคัญ คือ
                              แม่น ้าเจ้าพระยา เริ่มบริเวณแม่น้ าปิงและแม่น้ าน่านไหลมารวมบรรจบกันที่

                  อ าเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ ไหลไปทางทิศใต้ มีแม่น้ าสะแกกรังไหลมาบรรจบที่
                  อ าเภอวัดสิงห์ จังหวัดชัยนาท มีแม่น้ าสุพรรณบุรีแยกทางฝั่งตะวันตกที่อ าเภอเมืองชัยนาท จังหวัดชัยนาท
                  มีแม่น้ าน้อยแยกไปทางฝั่งตะวันตก และแม่น้ าเจ้าพระยาไหลผ่านลงมาถึงจังหวัดสิงห์บุรี มีคลองบางพุทรา

                  แยกไปทางด้านตะวันออก ซึ่งคลองนี้ไหลไปลงแม่น้ าลพบุรี ต่อจากนั้นแม่น้ าเจ้าพระยาจะไหลผ่านจังหวัด
                  อ่างทอง เข้าเขตจังหวัดพระนครศรีอยุธยาที่อ าเภอบางบาล และมีแม่น้ าป่าสักไหลมาลงแม่น้ าเจ้าพระยาที่
                  จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ต่อจากนั้นแม่น้ าเจ้าพระยาไหลลงใต้ผ่านจังหวัดปทุมธานี นนทบุรี และ
                  กรุงเทพมหานครลงสู่อ่าวไทยที่จังหวัดสมุทรปราการ รวมความยาวประมาณ 360 กิโลเมตร
                              แม่น ้าท่าจีน แยกจากแม่น้ าเจ้าพระยาฝั่งตะวันตกที่อ าเภอวัดสิงห์ จังหวัดชัยนาท

                  แม่น้ านี้ใช้เป็นคลองส่งน้ าสายใหญ่ของโครงการเขื่อนเจ้าพระยา เมื่อผ่านจังหวัดสุพรรณบุรีเรียกว่า
                  แม่น้ าสุพรรณบุรี เมื่อผ่านมาถึงจังหวัดนครปฐมเรียกว่าแม่น้ านครชัยศรี และเมื่อไหลลงสู่อ่าวไทย
                  ที่จังหวัดสมุทรสาคร เรียกว่าแม่น้ าท่าจีน แม่น้ านี้มีความยาวประมาณ 300 กิโลเมตร








                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจยาสูบ                               กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52