Page 48 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจยาสูบ
P. 48

2-30





                              แม่น ้าน้อย แยกจากแม่น้ าเจ้าพระยาฝั่งตะวันตกที่อ าเภอวัดสิงห์ จังหวัดชัยนาท แม่น้ านี้

                  ใช้เป็นคลองส่งน้ าสายใหญ่ของโครงการเขื่อนเจ้าพระยาใหญ่อีกสายหนึ่ง แม่น้ านี้จะมาบรรจบกับแม่น้ า
                  เจ้าพระยาอีกครั้งที่อ าเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยแม่น้ านี้มีความยาวประมาณ 145 กิโลเมตร
                              แม่น ้าลพบุรี ต้นน้ าก าเนิดจากบริเวณภูเขาในเขตอ าเภอบ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี ไหล

                  มารวมกับแม่น้ าบางขามอันเกิดจากที่ลุ่มระหว่างจังหวัดลพบุรี และจังหวัดสิงห์บุรี แล้วจึงไหลมารวมกับ
                  คลองบางพุทรา และไหลลงมาทางใต้บรรจบกับแม่น้ าป่าสักที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
                              แม่น ้าป่าสัก ต้นน้ าเกิดจากทิวเขาเพชรบูรณ์ในเขตอ าเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย ไหลผ่าน
                  จังหวัดเพชรบูรณ์ ลพบุรีและสระบุรีไปบรรจบกับแม่น้ าเจ้าพระยาที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
                            แม่น ้าสะแกกรัง ต้นน้ าเกิดจากทิวเขาแม่วง ดังนั้น ตอนต้นน้ าจึงเรียกว่าล าน้ าแม่วง

                  จะเรียกล าน้ าสะแกกรัง เมื่อผ่านภูเขาสะแกกรัง จังหวัดอุทัยธานี มีทิศทางการไหลจากด้านทิศตะวันตก
                  ไปทางด้านทิศตะวันออก ปากน้ าสะแกกรังอยู่ใต้อ าเภอมโนรมย์
                            แม่น ้าแควใหญ่ (แม่น้ าศรีสวัสดิ์) เป็นแม่น้ าที่มีต้นก าเนิดจากเทือกเขารอยต่อของ

                  จังหวัดตาก กาญจนบุรีและอุทัยธานี โดยมีล าธารใหญ่น้อยหลายสายไหลมารวมกันเป็นแควใหญ่และ
                  ไหลมารวมกับแม่น้ าแควน้อยที่ปากแพรก อ าเภอเมืองกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี เป็นแม่น้ าแม่กลอง
                            แม่น ้าแควน้อย (แม่น้ าไทรโยค) เป็นแม่น้ าที่เกิดจากล าธารบนภูเขาในอ าเภอสังขละบุรี
                  จังหวัดกาญจนบุรี และมีล าธารอื่นๆ อีกหลายสายที่เกิดจากเทือกเขาบริเวณเขตชายแดนไทย-พม่า แล้ว

                  ไหลผ่านอ าเภอทองผาภูมิ อ าเภอไทรโยค และมีแม่น้ าชีไหลมาบรรจบกันรวมกับแม่น้ าแควใหญ่
                  กลายเป็นแม่น้ าแม่กลอง
                              แม่น ้าแม่กลอง เป็นแม่น้ าที่เกิดจากการไหลมารวมกันของแม่น้ าแควน้อยและแม่น้ าแควใหญ่
                  นับได้ว่าเป็นแม่น้ าที่ส าคัญในภาคนี้ เพราะเป็นแม่น้ าที่มีน้ าปริมาณมากที่สุดในภาคตะวันตก โดยไหลผ่าน

                  จังหวัดกาญจนบุรี ราชบุรี และไหลลงสู่อ่าวไทยที่อ าเภอเมืองสมุทรสงคราม
                              แม่น ้าเพชรบุรี ต้นก าเนิดจากทิวเขาตะนาวศรีในเขตอ าเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรีแล้ว
                  ไหลลงสู่อ่าวไทยที่อ าเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี
                              แม่น ้าปราณบุรี ต้นน้ าเกิดจากเขาพะเนินทุ่งในเขตอ าเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี ไหลไป

                  ทางทิศใต้ขนานกับทิวเขาตะนาวศรี เข้าเขตจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ และไหลลงสู่อ่าวไทยที่อ าเภอปราณบุรี
                  จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
                              แม่น ้านครนายก ต้นน้ าเกิดจากเขาอินทนินในอ าเภอเมืองนครนายก ไหลผ่าน

                  จังหวัดนครนายก ลงสู่แม่น้ าบางปะกงบริเวณที่เขตสามจังหวัดติดต่อกัน คือ จังหวัดนครนายก
                  ปราจีนบุรี และฉะเชิงเทรา
                            4) แหล่งน ้าตามธรรมชาติในภาคตะวันออก
                              แหล่งน้ าธรรมชาติในภาคตะวันออก ได้แก่
                              แม่น ้าบางปะกง ต้นก าเนิดจากแม่น้ าหนุมานและแม่น้ าพระปรงไหลมารวมกัน

                  ที่อ าเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี ในตอนนี้เรียกว่าแม่น้ าปราจีนบุรี และเมื่อผ่านจังหวัดฉะเชิงเทรา
                  จึงเรียกว่าแม่น้ าบางปะกงไหลไปสู่อ่าวไทยที่อ าเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา ล าน้ าต่างๆ ของแม่น้ า
                  ปราจีนบุรี ได้แก่ ล าน้ าหนุมาน ล าน้ าประจันตคาม และล าน้ านครนายก








                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจยาสูบ                               กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53