Page 16 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจยาสูบ
P. 16

1-2






                  และผู้ที่เกี่ยวข้องเป็นการสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้กับโรงงานยาสูบ รวมถึงการให้ความช่วยเหลือในด้านอื่นๆ

                  ที่เป็นรูปธรรม เช่น การอบรมให้ความรู้ในการเพาะปลูก การสนับสนุนปัจจัยในการเพาะปลูก
                        เพื่อเป็นการก าหนดบริเวณการใช้ที่ดินที่เหมาะสมทั้งทางด้านกายภาพ เศรษฐกิจและสังคมของ
                  พืชเศรษฐกิจยาสูบ กรมพัฒนาที่ดินจึงจัดท าโครงการเขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจยาสูบขึ้น โดยในการ

                  จัดท ารายงานเขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจยาสูบได้จัดท าเขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจยาสูบที่เหมาะสมมาก
                  เหมาะสมปานกลาง และเหมาะสมเล็กน้อยส าหรับปลูกยาสูบ ทั้งนี้ รัฐต้องให้การสนับสนุนในเชิงนโยบาย
                  และการพัฒนาพื้นที่ตามแนวทางและข้อเสนอแนะที่ได้จัดท าขึ้น

                  1.2   วัตถุประสงค์

                        เพื่อก าหนดบริเวณการใช้ที่ดินที่เหมาะสมทั้งทางด้านกายภาพ เศรษฐกิจและสังคม ของ
                  พืชเศรษฐกิจยาสูบ

                  1.3   ขั้นตอนและวิธีการดําเนินการ
                        1.3.1  การรวบรวมข้อมูลทั่วไป

                            ข้อมูลที่น ามาใช้เป็นฐานในการศึกษาและวิเคราะห์ มีทั้งข้อมูลเชิงอรรถาธิบาย และ
                  ข้อมูลเชิงพื้นที่ดังนี้
                            1) ข้อมูลเชิงอรรถาธิบาย ข้อมูลด้านทรัพยากรต่างๆ ที่เกี่ยวของ คือ สภาพภูมิอากาศ
                  ทรัพยากรดิน ทรัพยากรน้ า ทรัพยากรป่าไม้ สภาพการใช้ที่ดิน ตลอดจนนโยบายของรัฐบาลที่เกี่ยวข้อง

                  และโครงสร้างพื้นฐานอื่นๆ
                            2) ข้อมูลเชิงพื้นที่ ได้แก่ ข้อมูลแผนที่สภาพภูมิประเทศ และขอบเขตการปกครอง แผนที่
                  กลุ่มชุดดิน แผนที่การใช้ที่ดิน เป็นตน

                        1.3.2  การรวบรวมข้อมูลทางด้านเศรษฐกิจและสังคม
                              ท าการรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มเศรษฐกิจที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน และข้อมูลจากหน่วยงานต่างๆ
                  ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ กรมส่งเสริมการเกษตร กรมวิชาการเกษตร ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตรและ
                  เอกสาร/วารสารต่างๆ เป็นต้น
                        1.3.3  การนําเข้าและวิเคราะห์ข้อมูล

                            การน าเข้าและวิเคราะห์ข้อมูลทั้งข้อมูลเชิงพื้นที่และข้อมูลเชิงอรรถาธิบาย โดยท าการเก็บ
                  และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยระบบคอมพิวเตอร์ โดยใช้โปรแกรมส าเร็จรูปและโปรแกรมระบบสารสนเทศ
                  ภูมิศาสตร์

                            การวิเคราะห์ข้อมูล จะท าการวิเคราะห์ขอมูลเฉพาะด้านต่างๆ แล้วจึงน าข้อมูลดานตางๆ
                  ไปวิเคราะห์รวมเพื่อก าหนดเขตการใช้ที่ดิน โดยมีการวิเคราะห์ข้อมูลเฉพาะด้านดังนี้
                            1) การประเมินความเหมาะสมของที่ดินกับการปลูกพืชเศรษฐกิจยาสูบจากรายงานความ
                  เหมาะสมของพืชเศรษฐกิจ โดยศึกษาร่วมกับการใช้ที่ดินและการจัดการพื้นที่

                            2) การวิเคราะห์ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ
                                การวิเคราะห์ขอมูลเพื่อประเมินผลตอบแทนทางด้านเศรษฐกิจ ได้น าวิธีการจากระบบ
                  ของ FAO Frame work (1983) มาประยุกตใช้รวมกับหลักการทางสถิติท าการวิเคราะห์ข้อมูลผลผลิตยาสูบ
                  ปีการผลิต 2561 เพื่อค านวณต้นทุนผันแปร ต้นทุนคงที่ รายได้ (มูลค่าผลผลิต) ผลตอบแทนเหนือต้นทุนเงินสด






                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจยาสูบ                               กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21