Page 106 - mize
P. 106

4-48






                  ไปสู่ประเทศไทย 4.0 ตลอดจนประเด็นการปฏิรูปประเทศ นอกจากนั้นได้ให้ความส าคัญกับการมีส่วนร่วม

                  ของภาคีการพัฒนาทุกภาคส่วน เพื่อร่วมกันก าหนดวิสัยทัศน์และทิศทางการพัฒนาประเทศ รวมทั้ง
                  ร่วมจัดท ารายละเอียดยุทธศาสตร์ของแผนฯ เพื่อมุ่งสู่ “ความมั่งคง มั่งคั่ง และยั่งยืน”


                  4.4  สรุปและข้อเสนอแนะ
                        4.4.1 สรุป
                              จากการก าหนดเขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ฤดูแล้งในพื้นที่เพื่อการ

                  เกษตรกรรมนอกเขตป่าไม้ตามกฎหมายเนื้อที่ประมาณ 165 ล้านไร่ โดยด าเนินการเฉพาะในพื้นที่
                  ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออก และเป็นบริเวณที่มีการใช้
                  ประโยชน์ที่ดินปัจจุบันเป็นการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ฤดูแล้ง และพื้นที่นาในเขตชลประทานที่มี
                  ศักยภาพในการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ฤดูแล้ง พบว่า
                              1) ในการก าหนดเขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ฤดูแล้ง รวมเนื้อที่

                  2,137,856 ไร่ โดยสามารถแบ่งเขตการใช้ที่ดินตามความเหมาะสมได้ดังนี้ เขตการใช้ที่ดินที่มีความ
                  เหมาะสมมาก (Z-I) มีเนื้อที่ 68,684 ไร่ เขตการใช้ที่ดินที่มีความเหมาะสมปานกลาง (Z-II) มีเนื้อที่
                  281,289 ไร่ เขตการใช้ที่ดินที่มีความเหมาะสมน้อย (Z-III) มีเนื้อที่ 62,173 ไร่ และและเขตการใช้ที่ดิน

                  ที่มีศักยภาพในการผลิตพืชเศรษฐกิจข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ฤดูแล้ง (Z-IV) มีเนื้อที่ 1,725,710 ไร่
                              2) ในก าหนดเขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ฤดูแล้งในพื้นที่ที่เหมาะสม
                  ตามศักยภาพของที่ดิน สามารถแบ่งเขตการใช้ที่ดินรายภาคได้ดังนี้ ภาคเหนือเนื้อที่ 14,07,610 ไร่
                  ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเนื้อที่ 712,714 ไร่ ภาคกลางเนื้อที่ 10,054 ไร่ และภาคตะวันออกเนื้อที่

                  7,478 ไร่ โดยมีเนื้อที่รวมทั้งสิ้นประมาณ 2,137,856 ไร่ ซึ่งใกล้เคียงเป้าหมายพื้นที่ตามยุทธศาสตร์
                  ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ปี 2558 ได้ก าหนดไว้
                        4.4.2 ข้อเสนอแนะ
                              ส าหรับแนวทางการพัฒนาพื้นที่ในเขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ฤดูแล้งนั้น

                  ควรมีการจัดการพื้นที่เพื่อให้เหมาะสมกับการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในแต่ละเขตการใช้ที่ดิน โดยค านึงถึง
                  ข้อเสนอแนะและมาตรการต่างๆ ที่จะด าเนินการทั้งในระยะสั้นและระยะยาว เพื่อช่วยส่งเสริม
                  และสนับสนุนเกษตรกรในการเพิ่มผลผลิต และลดต้นทุนการผลิต รวมทั้งพัฒนาเพื่อเพิ่มคุณภาพข้าวโพด
                  เลี้ยงสัตว์ฤดูแล้งให้มีมากยิ่งขึ้น โดยมีข้อเสนอแนะดังนี้

                              ข้อเสนอแนะด้านการวิจัยและพัฒนาเพื่อน าไปสู่การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
                            1) ควรส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยีให้เกษตรกรมีการปฏิบัติ และดูแลการผลิตตาม
                  ระบบเกษตรดีที่เหมาะสม (GAP) โดยการอบรมแนะน าความรู้ต่างๆ เช่น วิธีการปลูก การใส่ปุ๋ย การจัดการ

                  การดูแลรักษา การเก็บเกี่ยว และการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวให้มีความเหมาะสมในแต่ละพื้นที่ในเขต
                  การใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจอย่างครบวงจร
                            2) ควรส่งเสริมการวิจัย และพัฒนาเทคโนโลยีการเพิ่มผลผลิต รวมถึงการเพิ่มคุณภาพ
                  ผลผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ฤดูแล้ง และสนับสนุนการใช้เทคโนโลยีให้ถูกต้องตามหลักวิชาการ เพื่อลด
                  ต้นทุนการผลิตและช่วยรักษาสภาพแวดล้อม









                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ฤดูแล้ง              กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน
   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110