Page 147 - เขตการใช้ที่ดินพิชเศรษฐกิจมะม่วง
P. 147

4-15





                        เขตการใช้ที่ดินมีความเหมาะสมเล็กน้อย (Z-III) มีเนื้อที่ 88,180 ไร่ เป็นพื้นที่ที่มีความเหมาะสม

                  ทางด้านกายภาพน้อย ควรยกระดับผลผลิตเฉลี่ยให้ได้ 700 – 800 กิโลกรัมต่อไร่ เพื่อให้มีผลผลิต

                  เพิ่มขึ้นร้อยละ 20
                        นอกจากนี้ในการศึกษานี้ยังได้เสนอมาตรการเพื่อส่งเสริมแต่ละเขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจ

                  มะม่วง ที่ก าหนดขึ้นนั้นสามารถน าไปสู่การปฏิบัติในระดับพื้นที่ ควบคู่การอนุรักษ์ดินและน ้า

                        มาตรการส าหรับเขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะม่วงที่มีความเหมาะสมมาก ได้แก่ (1) พัฒนา

                  พื้นที่เพื่อเพิ่มผลผลิตและลดต้นทุน (2) เพิ่มมูลค่าของผลผลิต และ (3) สร้างความเข้มแข็งของกลุ่ม
                  เกษตรกร  มาตรการส าหรับเขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะม่วงที่มีความเหมาะสมปานกลาง ได้แก่ (1)

                  พัฒนาแหล่งน ้าส าหรับการเพาะปลูกมะม่วงอย่างเป็นระบบ (2) ส่งเสริมการบ ารุงและปรับปรุงดิน

                  และ (3) ส่งเสริมการรวมกลุ่มเกษตรกร  และมาตรการส าหรับเขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะม่วงที่มี

                  ความเหมาะสมน้อย ได้แก่ (1) พัฒนาแหล่งน ้าส าหรับการเพาะปลูกมะม่วงอย่างเป็นระบบ (2) ส่งเสริม
                  การบ ารุงและปรับปรุงดิน และ (3) ก าหนดมาตรการอนุรักษ์ดินและน ้าที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่

                  (4) ส่งเสริมการรวมกลุ่มเกษตรกร

                        ข้อเสนอแนะ
                        เพื่อให้การด าเนินงานนโยบายการส่งเสริมการผลิตมะม่วงตามเขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจ

                  มะม่วง เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์ต่อเกษตรกร มีข้อเสนอแนะเพิ่มเติมดังนี้

                          1)  ควรมีการจัดท าฐานข้อมูลการผลิตมะม่วงให้เชื่อมโยงกันทั้งด้านการตลาด ข้อมูล
                  เกษตรกร การรวมกลุ่ม และเชื่อมโยงกับข้อมูลเชิงพื้นที่ตามเขตการใช้ที่ดิน

                          2)  มีแผนรองรับความแปรผันของราคาตลาด เช่น การแปรรูปผลผลิตเมื่อมีปริมาณวัตถุดิบล้นตลาด

                          3)  มีการท าแผนการผลิตที่ก าหนดให้ผลผลิตออกสู่ตลาดเหลื่อมช่วงเวลากัน โดยการท า

                  แผนการผลิตทั้งระบบของประเทศ
                          4)  ส่งเสริมมาตรการจูงใจทางด้านเศรษฐศาสตร์ (Economic incentive) และสิ่งจูงใจที่ไม่ใช่

                  เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์ (Non-economic incentive) เนื่องจากเขตการใช้ที่ดินที่ก าหนดขึ้นนี้เป็น

                  แนวทางส าหรับการวางแผนพัฒนาการผลิตพืชเศรษฐกิจมะม่วง ไม่ได้เป็นข้อบังคับ ดังนั้นเพื่อให้เป็น

                  การจูงใจเกษตรกรในแต่ละเขตการใช้ที่ดิน รัฐบาลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรส่งเสริมการใช้มาตรการ
                  จูงใจทางเศรษฐศาสตร์และมี่ไม่ใช่ทางเศรษฐศาสตร์ส าหรับเกษตรกร เช่น มาตรการประกันราคาสินค้า

                  ทางการเกษตร มาตรการส่งเสริมการเกษตรมีพื้นที่ที่มีศักยภาพ และสินเชื่อเพื่อการเกษตร เป็นต้น

                  โดยเฉพาะในพื้นที่ที่มีความเหมาะสมส าหรับมะม่วงสูง เนื่องจากเป็นพื้นที่ที่มีความพร้อม การลงทุนใน
                  การพัฒนาพื้นที่ไม่สูงเท่ากับเขตอื่นๆ








                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะม่วง                     กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   142   143   144   145   146   147   148   149   150   151   152