Page 138 - เขตการใช้ที่ดินพิชเศรษฐกิจมะม่วง
P. 138

4-6





                  ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีเนื้อที่ประมาณ 13,856 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 1.96  ของเนื้อที่เขตการใช้ที่ดินพืช

                  เศรษฐกิจมะม่วงทั้งประเทศ (รูปที่ 4-3)

                            ภาคกลาง จัดเป็นเขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะม่วง ที่มีความเหมาะสมน้อย (Z-III)
                  16,511ไร่ คิดเป็นร้อยละ 2.33  ของเนื้อที่เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะม่วงทั้งประเทศ โดยจังหวัด

                  ราชบุรี มีเนื้อที่เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะม่วง ที่มีความเหมาะสมน้อย (Z-III) มากที่สุดในภาค

                  กลาง มีเนื้อที่ประมาณ 9,932 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 1.40 ของเนื้อที่เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะม่วงทั้ง
                  ประเทศ (รูปที่ 4-4 )

                            ภาคตะวันออก จัดเป็นเขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะม่วง ที่มีความเหมาะสมน้อย

                  (Z-III)  3,305 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.47 ของเนื้อที่เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะม่วงทั้งประเทศ โดย

                  จังหวัดชลบุรีมีเนื้อที่เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะม่วง ที่มีความเหมาะสมน้อย (Z-III) มากที่สุดใน
                  ภาคตะวันออก มีเนื้อที่ประมาณ 1,879ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.27 ของเนื้อที่เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจ

                  มะม่วงทั้งประเทศ (รูปที่ 4-5)

                            แนวทางการพัฒนาเขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะม่วงที่มีความเหมาะสมน้อย (Z-III)

                            ผลผลิตจากเขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะม่วงที่มีความเหมาะสมน้อยนี้ ครอบคลุม
                  พื้นที่ที่มีความเหมาะสมในการปลูกมะม่วงเล็กน้อย โดยนอกจากพบว่าดินมีปัญหาข้อจ ากัดด้าน

                  ปริมาณน ้าที่ไม่เพียงพอต่อพืชทั้งฤดู และด้านความอุดมสมบูรณ์ของดินแล้ว ดินยังมีปัญหาเกี่ยวกับ

                  การระบายน ้า ดินตื้นพบกรวดหรือเศษหินที่พบในหน้าตัดดินซึ่งมีผลต่อการหยั่งลึกของรากพืช และมี
                  พื้นที่ลาดชันตั้งแต่ร้อยละ 20 ขึ้นไป ซึ่งมีโอกาสเกิดการชะล้างพังทลายของดิน ดังนั้นแนวทางการ

                  พัฒนาเขตการใช้ที่ดินดังกล่าวจึงให้ความส าคัญในการปรับปรุงข้อจ ากัดและการจัดการอื่นๆ รวมถึง

                  ระบบอนุรักษ์ดินและน ้า ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
                             1) พัฒนาแหล่งน ้าส าหรับการเพาะปลูกมะม่วงอย่างเป็นระบบ ซึ่งบางพื้นที่ในเขตการ

                  ใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะม่วง เช่น พื้นที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เป็นต้น ที่มีความเหมาะสมปานกลาง

                  เกษตรกรประสบปัญหาขาดแคลนน ้า เกษตรกรจึงไม่สามารถพัฒนาปลูกมะม่วงนอกฤดูได้

























                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะม่วง                     กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   133   134   135   136   137   138   139   140   141   142   143