Page 136 - เขตการใช้ที่ดินพิชเศรษฐกิจมะม่วง
P. 136

4-4





                  อย่างเหมาะสมกับพื้นที่ ส่งเสริมการใช้ปุ๋ ยอินทรีย์เพื่อปรับปรุงโครงการสร้างของดิน ปรับปรุงบ ารุง

                  ดินให้เหมาะสมต่อการเพาะปลูกมะม่วงยิ่งขึ้นและมีการจัดการโรคแมลงทั้งระบบอย่างมีประสิทธิภาพ

                  โดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อช่วยลดต้นทุนการผลิต
                             2) เพิ่มมูลค่าของผลผลิต โดยการพัฒนาและส่งเสริมการแปรรูปให้ได้มาตรฐานผลิตภัณฑ์

                  หรือข้อก าหนดที่เกี่ยวกับสุขอนามัยและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ (sanitary and phytosanitary
                  regulations) ซึ่งใช้เป็นมาตรการกีดกันทางการค้าที่มิใช่ภาษี (non-tariff barriers/measures) ในการค้า

                  ระหว่างประเทศ เช่น ThaiGAP  JapanGAP  Global Gap มะม่วงเกษตรอินทรีย์ปลอดสารพิษ เป็นต้น
                             3) สร้างความเข้มแข็งของกลุ่มเกษตรกรผู้ผลิตมะม่วง โดยให้มีความเข้มแข็งทั้งด้านการ

                  ควบคุมคุณภาพมะม่วงให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานการส่งออก และการวางแผนการตลาดทั้งระบบ

                  เพิ่มอ านาจในการต่อรองกับองค์กรอื่นๆ ทั้งในและต่างประเทศ
                        4.2.2  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะม่วง ที่มีความเหมาะสมปานกลาง (Z-II)

                             เขตนี้ครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมด 311,483 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 43.99 ของเนื้อที่เขตการใช้ที่ดิน

                  พืชเศรษฐกิจมะม่วงทั้งหมด มีผลผลิตในปัจจุบันเฉลี่ยระหว่าง 884.05 กิโลกรัมต่อไร่ ครอบคลุมพื้นที่
                  ในภาคต่าง ๆ ดังนี้

                            ภาคเหนือ จัดเป็นเขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะม่วง ที่มีความเหมาะสมปานกลาง (Z-II)

                  123,770 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 17.48 ของเนื้อที่เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะม่วงทั้งประเทศ โดยจังหวัด
                  พิษณุโลก มีเนื้อที่เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะม่วง ที่มีความเหมาะสมปานกลาง (Z-II) มากที่สุดใน

                  ภาคเหนือ มีเนื้อที่ประมาณ 29,086 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 4.11 ของเนื้อที่เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะม่วง
                  ทั้งประเทศ (รูปที่ 4-2)

                            ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดเป็นเขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะม่วง ที่มีความเหมาะสม

                  ปานกลาง (Z-II)  94,365ไร่ คิดเป็นร้อยละ 13.32  ของเนื้อที่เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะม่วงทั้ง
                  ประเทศ โดยจังหวัดนครราชสีมา มีเนื้อที่เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะม่วง ที่มีความเหมาะสมปาน

                  กลาง (Z-II) มากที่สุดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีเนื้อที่ประมาณ 25,143 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 3.55  ของ
                  เนื้อที่เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะม่วงทั้งประเทศ (รูปที่ 4-3)

                            ภาคกลาง จัดเป็นเขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะม่วง ที่มีความเหมาะสมปานกลาง (Z-II)

                  53,7504 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 7.59 ของเนื้อที่เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะม่วงทั้งประเทศ โดยจังหวัด
                  ประจวบคีรีขันธ์ มีเนื้อที่เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะม่วง ที่มีความเหมาะสมปานกลาง (Z-II) มาก

                  ที่สุดในภาคกลาง มีเนื้อที่ประมาณ 16,939 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 2.39 ของเนื้อที่เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจ

                  มะม่วงทั้งประเทศ (รูปที่ 4-4 )
                            ภาคตะวันออก จัดเป็นเขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะม่วง ที่มีความเหมาะสมปานกลาง

                  (Z-II)  39,598ไร่ คิดเป็นร้อยละ 5.59 ของเนื้อที่เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะม่วงทั้งประเทศ






                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะม่วง                     กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   131   132   133   134   135   136   137   138   139   140   141