Page 104 - เขตการใช้ที่ดินพิชเศรษฐกิจมะม่วง
P. 104

3-26






                  ค่าแรงงานต่อต้นทุนผันแปรมากที่สุดในพื้นที่ที่มีระดับความเหมาะสมสูง (S1) ร้อยละ 28.75 และ

                  ร้อยละ 23.25 และ 20.88 ในพื้นที่ที่มีระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) และเหมาะสมเล็กน้อย (S3)

                  ตามล าดับ เช่นเดียวกับผลตอบแทนเหนือต้นทุนผันแปร และผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมด
                  กล่าวคือ ในพื้นที่ที่มีระดับความเหมาะสมสูง (S1) ได้ผลตอบแทนเหนือต้นทุนผันแปรไร่ละ

                  44,429.58 บาท รองลงมาไร่ละ 24,791.02  และ 17,207.55 บาท ในพื้นที่ที่มีระดับความเหมาะสม

                  ปานกลาง (S2) และเหมาะสมเล็กน้อย (S3) ตามล าดับ ในพื้นที่ที่มีระดับความเหมาะสมสูง (S1)

                  ได้ผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมดไร่ละ 39,399.02 บาท รองลงมาไร่ละ 19,458.56  และ 13,610.28 บาท
                  ในพื้นที่ที่มีระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) และเหมาะสมเล็กน้อย (S3)  ตามล าดับ ส าหรับ

                  ต้นทุนต่อกิโลกรัมมากที่สุดในพื้นที่ที่มีระดับความเหมาะสมเล็กน้อย (S3) ไร่ละ 20.39  รองลงมา

                  ไร่ละ 18.64 และ 12.31 ในพื้นที่ที่มีระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) และเหมาะสมสูง (S1)

                  ตามล าดับ และอัตราส่วนรายได้ต่อต้นทุนทั้งหมดมากที่สุดในพื้นที่ที่มีระดับความเหมาะสมสูง (S1)
                  เท่ากับ 3.30 ส่วนในพื้นที่ที่มีระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) และเหมาะสมเล็กน้อย (S3)

                  มีอัตราส่วนรายได้ต่อต้นทุนทั้งหมด เท่ากับ 2.18 และ 1.99  ตามล าดับ (ตารางผนวกที่ 2-13)

                            3)  ต้นทุน รายได้ และผลตอบแทนการผลิตมะม่วงจ าแนกตามรายพันธุ์
                              (1) มะม่วงพันธุ์น ้าดอกไม้สีทองตลอดช่วงอายุให้ผลผลิตเฉลี่ยไร่ละ 784.93 กิโลกรัม

                  รายได้/มูลค่าผลผลิตไร่ละ 36,452.15 บาท ต้นทุนทั้งหมดไร่ละ 16,583.41 บาท เป็นต้นทุนผันแปรไร่ละ

                  11,370.15 บาท (ร้อยละ 68.56) และต้นทุนคงที่ไร่ละ 5,213.26 บาท (ร้อยละ 31.44) ค่าใช้จ่ายที่เป็น
                  ต้นทุนผันแปร ได้แก่ ค่าพันธุ์ในปีที่ปลูกไร่ละ 2,372.73 บาท (ร้อยละ 20.87) ค่าแรงงานคนไร่ละ

                  2,223.64 บาท (ร้อยละ 19.56) เป็นต้น จากต้นทุนทั้งหมดเป็นค่าใช้จ่ายที่เป็นเงินไร่ละ 11,554.27 บาท

                  (ร้อยละ 69.67) และไม่เป็นเงินไร่ละ 5,029.14 บาท (ร้อยละ 30.33) ได้ผลตอบแทนเหนือต้นทุนที่เป็นเงิน
                  ไร่ละ 24,897.88 บาท ผลตอบแทนเหนือต้นทุนผันแปรไร่ละ 25,082.00 บาท ผลตอบแทนเหนือ

                  ต้นทุนทั้งหมดไร่ละ 19,868.74 บาท ต้นทุนการผลิตต่อกิโลกรัม 21.13 บาท (ต ่ากว่าราคาขายผลผลิต)

                  และมีอัตราส่วนรายได้ต่อต้นทุนทั้งหมดเท่ากับ 2.20 แสดงว่าเกษตรกรได้รับรายได้จากการลงทุนสูง

                  (ตารางผนวกที่ 2-14)
                              มะม่วงพันธุ์น ้าดอกไม้สีทองแยกตามช่วงอายุในภาพรวมของการผลิต พบว่าต้นทุน

                  การผลิตมากที่สุดในช่วงที่มะม่วงมีช่วงอายุ 7-9 ปี กล่าวคือ ผลผลิตเฉลี่ยไร่ละ 778.70 กิโลกรัม

                  รายได้/มูลค่าผลผลิตไร่ละ 36,162.83 บาท ต้นทุนทั้งหมดไร่ละ 14,895.62 บาท เป็นต้นทุนผันแปรไร่ละ

                  9,802.22 บาท (ร้อยละ 65.81) และต้นทุนคงที่ไร่ละ 5,093.40 บาท (ร้อยละ 34.19) ค่าใช้จ่ายที่เป็น
                  ต้นทุนผันแปรเป็นค่าวัสดุการเกษตรไร่ละ 4,949.22 บาท (ร้อยละ 50.49 ของต้นทุนผันแปร) ค่าแรงงาน

                  ไร่ละ 2,807.00 บาท (ร้อยละ 28.64 ของต้นทุนผันแปร) ได้ผลตอบแทนเหนือต้นทุนผันแปรไร่ละ






                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะม่วง                     กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109