Page 16 - durian
P. 16
1-2
การจัดท าเขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจทุเรียน ต้องศึกษาวิเคราะห์สถานภาพของ
ทรัพยากรธรรมชาติประเภทต่าง ๆ เช่น ทรัพยากรดิน ทรัพยากรน ้า ทรัพยากรป่าไม้ เป็นต้น ร่วมกับ
ลักษณะทางเศรษฐกิจและสังคมร่วมด้วย ทั้งนี้ส่วนใเพื่อเป็นฐานข้อมูลที่จะน าไปสู่การส่งเสริมการ
ปลูกหรือลดพื้นที่ปลูก รวมถึงบริหารจัดการการพื้นที่และตลาดอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับ
สถานการณ์ที่จะเกิดขึ้นในอนาคตอีกด้วย
1.2 วัตถุประสงค์
1.2.1 เพื่อเป็นแนวทางในการก าหนดพื้นที่ปลูกเงาะให้เหมาะสมกับระดับความเหมาะสมของ
ที่ดินเพื่อน าไปสู่การลดต้นทุนการผลิตและเพิ่มผลผลิตทั้งทางด้านปริมาณและคุณภาพ ให้ตรงกับ
ความต้องการของตลาด
1.2.2 เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลในการก าหนดแผนงานนโยบายและยุทธศาสตร์ เพื่อน าไปสู่การ
พัฒนาพืชเศรษฐกิจทุเรียนในมิติต่าง ๆ ที่สอดคล้องกับหลักวิชาการและความต้องการของตลาด
1.3 ขอบเขตกำรด ำเนินงำน
1.3.1 ระยะเวลำ เดือนตุลาคม พ.ศ. 2559 ถึงเดือนกันยายน พ.ศ. 2560
1.3.2 ขอบเขตศึกษำ พื้นที่เกษตรกรรมของประเทศไทย
1.3.3 พืชเศรษฐกิจ ทุเรียน(ข้อมูลด้านกายภาพไม่ระบุสายพันธุ์ ข้อมูลด้านเศรษฐกิจและ
สังคมเน้นสายพันธุ์หมอนทองและชะนี)
1.4 ขั้นตอนและวิธีด ำเนินงำน
1.4.1 กำรรวบรวมข้อมูลทำงด้ำนกำยภำพ
ข้อมูลที่น ามาใช้เป็นฐานในการศึกษาและวิเคราะห์ เป็นข้อมูลเชิงพื้นที่และเชิงอรรถาธิบาย
ประกอบด้วย
1) แผนที่กลุ่มชุดดิน มาตราส่วน 1: 25,000 โดย กรมพัฒนาที่ดิน ป ี พ.ศ. 2555
2) แผนที่สภาพการใช้ที่ดินทุเรียน มาตราส่วน 1: 25,000 โดย กรมพัฒนาที่ดิน ป ี พ.ศ. 2559
3) แผนที่ป่าสงวนแห่งชาติ มาตราส่วน 1: 50,000โดย กรมป่าไม้ไม่ระบุปี
4) แผนที่เขตอุทยานแห่งชาติและเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า มาตราส่วน 1: 50,000 จัดท าโดยกรม
อุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์พืช ไม่ระบุปี
5) แผนที่เขตปฏิรูปที่ดินเพื่อการเกษตร มาตราส่วน 1: 50,000 โดย ส านักงานปฏิรูปที่ดิน
เพื่อการเกษตร ป ี พ.ศ. 2558
6) แผนที่ขอบเขตการปกครอง มาตราส่วน 1: 50,000 โดย กรมการปกครอง ปี 2556