Page 126 - durian
P. 126

3-52






                        3.2.1  การใช้ปัจจัยการผลิต
                            การใช้ปัจจัยการผลิตทุเรียนในปีการผลิต 2559 จากการส ารวจเกษตรกรที่เป็นตัวอย่างท า

                  สวนขนาดเล็ก เกษตรกรดูแลรักษาเองโดยใช้แรงงานคนและเครื่องจักรในช่วงที่ยังไม่ให้ผลผลิต ปีที่ 1 ใช้
                  แรงงานเครื่องจักรในการเตรียมดินไถบุกเบิก ยกร่อง ตัดหญ้าและพ่นสารก าจัดวัชพืช ปีที่ 2-3 ใช้

                  ส าหรับให้น ้า ตัดหญ้าและพ่นสารก าจัดวัชพืช/ศัตรูพืช ช่วงที่ให้ผลผลิต ได้แก่ ปีที่ 4-10 ปีที่ 11-19 และ

                  ปีที่ 20 ขึ้นไปใช้แรงงานเครื่องจักรส าหรับให้น ้า ตัดหญ้า พ่นสารเร่งการเจริญเติบโต/สารเร่งเกสรตัวผู้
                  พ่นสารป้องกันและก าจัดวัชพืช/ศัตรูพืช/โรคพืช แรงงานคนช่วงที่ยังไม่ให้ผลผลิต ปีที่ 1 เตรียมดิน ขุดหลุม

                  ปลูก ใส่ปุ๋ ย ให้น ้า/ดูแลน ้าและคลุมโคนต้น ปีที่ 2-3 ใช้ในการใส่ปุ๋ ย ได้แก่ ปุ๋ ยเคมี ปุ๋ ยคอก ปุ๋ ยหมัก

                  และปุ๋ ยชีวภาพ การให้น ้า แต่งกิ่ง เก็บและคัดแยกผลผลิต มีการใช้สารเร่งการเจริญเติบโต สารป้องกัน
                  และก าจัดวัชพืช/ศัตรูพืช/โรคพืช การศึกษาการใช้ปัจจัยการผลิตทุเรียนจ าแนกตามความเหมาะสม

                  ทางกายภาพของพื้นที่และช่วงอายุได้ดังต่อไปนี้

                             1. การใช้ปัจจัยการผลิตทุเรียนในฤดูของภาคตะวันออก การใช้ปัจจัยการผลิตประเภท
                  ต่างๆ จ าแนกตามช่วงอายุและระดับความเหมาะสมทางกายภาพของพื้นที่ ดังนี้

                                พื้นที่ที่มีระดับความเหมาะสมสูง (S1) ตลอดช่วงอายุใช้ปัจจัยการผลิตโดยเฉลี่ยดังนี้

                  ในช่วงที่ยังไม่ให้ผลผลิตปีที่ 1 ใช้แรงงานคนไร่ละ 19.25 คนต่อวัน ปีที่ 2-4 ไร่ละ 4.52 คนต่อวัน
                  แรงงานเครื่องจักรปีที่ 1 ไร่ละ 20.00 ชั่วโมง ปีที่ 2-4 ไร่ละ 29.12 ชั่วโมง มีการใช้ปุ๋ ยเคมีปีที่ 1 ไร่ละ

                  19.14 กิโลกรัม ปีที่ 2-4 ไร่ละ 28.73 กิโลกรัม เป็นต้น ช่วงที่ให้ผลผลิตปริมาณการใช้ปัจจัยต่างๆ ตาม

                  ช่วงอายุ ได้แก่ แรงงานคนไร่ละ 13.48-14.90 คนต่อวัน แรงงานเครื่องจักรไร่ละ 29.37-33.18 ชั่วโมง
                  ใช้ปุ๋ ยเคมีไร่ละ 59.81-64.90 กิโลกรัม ทั้งสามปัจจัยใช้ปริมาณมากที่สุดในช่วงที่มีอายุ 5-10 ปี

                  นอกจากนี้ยังมีการใช้ปุ๋ ยคอก ปุ๋ ยชีวภาพชนิดน ้า สารเร่งการเจริญเติบโต สารป้องกันและปราบวัชพืช/

                  ศัตรูพืช/โรคพืช และน ้ามันเชื้อเพลิงและหล่อลื่น (ตารางที่ 3-7)

                              พื้นที่ที่มีระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) ตลอดช่วงอายุใช้ปัจจัยการผลิตโดย
                  เฉลี่ยดังนี้ ในช่วงที่ยังไม่ให้ผลผลิตปีที่ 1 ใช้แรงงานคนไร่ละ 45.00 คนต่อวัน ปีที่ 2-4 ไร่ละ 4.25 คน

                  ต่อวัน แรงงานเครื่องจักรปีที่ 1 ไร่ละ 21.75 ชั่วโมง ปีที่ 2-4 ไร่ละ 44.58 ชั่วโมง มีการใช้ปุ๋ ยเคมีปีที่ 1

                  ไร่ละ 28.75 กิโลกรัม ปีที่ 2-4 ไร่ละ 31.67 กิโลกรัม เป็นต้น ช่วงที่ให้ผลผลิตปริมาณการใช้ปัจจัย

                  ต่างๆ ตามช่วงอายุ ได้แก่ แรงงานคนไร่ละ 17.49-19.33 คนต่อวัน ใช้มากที่สุดในช่วงที่อายุปี ที่
                  16 ขึ้นไป แรงงานเครื่องจักรไร่ละ 31.83-42.18 ชั่วโมง ใช้มากที่สุดในช่วงที่มีอายุ 11-15 ปี ใช้ปุ๋ ยเคมี

                  ไร่ละ 78.94-80.00 กิโลกรัม ใช้ปริมาณมากที่สุดในช่วงที่มีอายุ 5-10 ปี นอกจากนี้ยังมีการใช้ปุ๋ ยคอก

                  ปุ๋ ยชีวภาพชนิดน ้า สารเร่งการเจริญเติบโต สารป้องกันและปราบวัชพืช/ศัตรูพืช/โรคพืช และน ้ามัน

                  เชื้อเพลิงและหล่อลื่น (ตารางที่ 3-8)
   121   122   123   124   125   126   127   128   129   130   131