Page 87 - coffee
P. 87

2-69






                             สําหรับประเทศไทยนั้น ในป พ.ศ. 2393 พระสารศาสตรพลขันธ ขาราชบริพารชาวอิตาเลี่ยน

                  ไดนํากาแฟสายพันธุอาราบิกาเขามาปลูกในประเทศไทย ตอมาในป พ.ศ. 2498-2517 ไดมีการนํากาแฟ

                  จากประเทศฟลิปปนส คอสตาริกา เคนยา บราซิล เอธิโอเปย อินเดีย กัวเตมาลา ฮาวาย โปรตุเกส มาปลูก
                  ในหลายพื้นที่ เชน สถานีกสิกรรมแมโจ จังหวัดเชียงใหม สถานีกสิกรรมดอยมูเซอ จังหวัดตาก

                  สถานีกสิกรรมบางกอกนอย องคการสวนยางนาบอน จังหวัดนครศรีธรรมราช สถานีกสิกรรมฝาง

                  จังหวัดเชียงใหม สถานีทดลองพืชไรศรีสําโรง จังหวัดสุโขทัย สถานีทดลองยางในชอง จังหวัดกระบี่

                  สวนกาแฟพันธุโรบัสตาคาดวามีการนําเขาสูประเทศไทยในป พ.ศ. 2447 โดยนํามาปลูกที่อําเภอสะบายอย
                  จังหวัดสงขลา ในชวงป พ.ศ. 2532-2533 ไดมีการรวบรวมกาแฟพันธุโรบัสตาจากแหลงปลูก จังหวัดชุมพร

                  และสุราษฎรธานี มาปลูกที่ศูนยวิจัยพืชสวนชุมพร เพื่อทําการคัดพันธุดี ในชวงป พ.ศ. 2537-2538 ไดนําเขา

                  พันธุจากประเทศฝรั่งเศส จํานวน 16 สายพันธุ และป พ.ศ. 2544 ไดมีการนําเขากิ่งตอนจากประเทศมาเลเซีย

                  จํานวน 20 สายพันธุ มาปลูกที่ศูนยวิจัยพืชสวนชุมพร (วลัยภรณ, 2551) ปจจุบันกาแฟพันธุโรบัสตา
                  มีเนื้อที่ปลูก รอยละ 95 ของเนื้อที่ปลูกทั้งหมด ซึ่งแหลงเพาะปลูกกาแฟที่สําคัญอยูในภาคใต ไดแก

                  จังหวัดชุมพร ระนอง สุราษฎรธานี กระบี่ และนครศรีธรรมราช สวนกาแฟพันธุอาราบิกามีเนื้อที่ปลูก

                  รอยละ 5 โดยมีแหลงเพาะปลูกที่สําคัญอยูทางภาคเหนือในแถบจังหวัดเชียงราย เชียงใหม แมฮองสอน
                  ลําปาง และตาก เปนตน


                        2.6.2 เนื้อที่ปลูก เนื้อที่เก็บเกี่ยว ผลผลิตรวม ผลผลิตเฉลี่ยตอไร
                             จากขอมูลของสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร ปการเพาะปลูก 2552/53 พบวา ประเทศไทย

                  มีเนื้อที่ปลูกกาแฟจํานวนทั้งสิ้น 382,189 ไร เนื้อที่เก็บเกี่ยว 359,489 ไร ผลผลิตรวม 48,955 ตัน แบงเปน

                  กาแฟพันธุโรบัสตา 45,565 ตัน และกาแฟพันธุอาราบิกา 3,430 ตัน และผลผลิตเฉลี่ย 136 กิโลกรัมตอไร

                  (ตารางที่ 2-6) โดยแหลงเพาะปลูกกาแฟสวนมากอยูในภาคใต จังหวัดที่มีการเพาะปลูกกาแฟมากที่สุด
                  ไดแก จังหวัดชุมพร มีเนื้อที่ปลูก 207,026 ไร คิดเปนรอยละ 54.17 ของเนื้อที่ปลูกกาแฟทั้งประเทศ

                  เนื้อที่เก็บเกี่ยว 206,478 ไร ผลผลิตรวม 29,320 ตัน ผลผลิตเฉลี่ยตอไร 142 กิโลกรัม รองลงมา ไดแก

                  จังหวัดระนอง มีเนื้อที่ปลูก 88,846 ไร เนื้อที่เก็บเกี่ยว 88,846 ไร ผลผลิตรวม 10,750 ตัน และผลผลิตเฉลี่ย
                  121 กิโลกรัมตอไร กาแฟที่นิยมปลูกกันมากทางภาคใตเปนพันธุโรบัสตา และมีการปลูกกาแฟกันบางสวน

                  ในภาคเหนือ โดยจังหวัดที่มีการปลูกมากที่สุด ไดแก จังหวัดเชียงราย มีเนื้อที่ปลูก 23,148 ไร เนื้อที่

                  เก็บเกี่ยว 11,719 ไร ผลผลิตรวม 2,063 ตัน ผลผลิตเฉลี่ยตอไร 176 กิโลกรัม รองลงมา ไดแก จังหวัด

                  เชียงใหม มีเนื้อที่ปลูก 17,237 ไร เนื้อที่เก็บเกี่ยว 10,060 ไร ผลผลิตรวม 1,720 ตัน และผลผลิตเฉลี่ยตอไร
                  171 กิโลกรัม ซึ่งพันธุที่นิยมปลูกกันสวนใหญเปนพันธุอาราบิกา (ตารางที่ 2-7 และ 2-8) เมื่อพิจารณา

                  แนวโนมการผลิตกาแฟในภาพรวมทั้งประเทศในชวง 10 ป ตั้งแตปการเพาะปลูก 2543/44-2552/53

                  พบวา ประเทศไทยมีเนื้อที่ปลูก และเนื้อที่เก็บเกี่ยวมีแนวโนมลดลง โดยในปการเพาะปลูก 2543/44





                  เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจกาแฟ                     สํานักนโยบายและแผนการใชที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92