Page 143 - coffee
P. 143

3-33







                  3.2  การวิเคราะหขอมูลดานเศรษฐกิจและสังคม

                        3.2.1 การใชปจจัยในการผลิตกาแฟพันธุโรบัสตา
                             กาแฟเปนเครื่องดื่มที่ไดรับความนิยมทั่วโลก การดื่มกาแฟชวยทําใหรางกายสดชื่น

                  เพราะมีสารคาเฟอีน ซึ่งสามารถกระตุนใหรางกายตื่นตัว นอกจากนั้นกาแฟยังมีสารอื่นๆ รวมถึงมีสาร

                  อนุมูลอิสระบางชนิดอีกดวย ความนิยมในการดื่มกาแฟมีแนวโนมที่เพิ่มขึ้น ดังนั้นในการผลิตกาแฟใหมี
                  คุณภาพตรงตามความตองการของผูบริโภคจึงตองคํานึงถึงตั้งแตขั้นตอน การปลูกและดูแลรักษาหรือ

                  การเขตกรรมตลอดจนวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวซึ่งเปนสวนสําคัญในการผลิตกาแฟ ปจจุบันพื้นที่

                  เพาะปลูกกาแฟพันธุโรบัสตาสวนใหญอยูทางภาคใต แตพื้นที่เพาะปลูกมีแนวโนมลดลง เนื่องจาก
                  ราคาเมล็ดกาแฟตกต่ําลงในชวงหลายปที่ผานมา การขยายพื้นที่เพาะปลูกใหเพิ่มขึ้นในปจจุบันอาจทํา

                  ไดยาก เนื่องจากตองแขงขันกับการใชที่ดินสําหรับพืชเศรษฐกิจอื่นที่มีผลตอบแทนและราคาที่ดีกวา

                  ดังนั้น จึงตองมีการพัฒนาแหลงปลูกเดิมใหสามารถผลิตกาแฟใหมีคุณภาพที่ดีเปนที่ตองการของ

                  ผูบริโภค ซึ่งปจจัยสําคัญที่ตองคํานึงถึง คือ การปรับปรุงและพัฒนาพันธุที่ดี ซึ่งมีผลโดยตรงตอ
                  คุณภาพของกาแฟ สภาพภูมิอากาศ สภาพพื้นที่เพาะปลูก ลักษณะดินที่เหมาะสมก็นับเปนปจจัยสําคัญ

                  ที่ตองคํานึงถึง การพัฒนาแหลงปลูกใหมีเอกลักษณทางภูมิศาสตรก็เปนอีกวิธีการหนึ่งที่สนับสนุนให

                  มีการพัฒนาคุณภาพไดเชนกัน เพราะจะชวยเพิ่มมูลคาใหกับกาแฟไดเปนอยางดี นอกจากนี้การบํารุงรักษา

                  และการจัดการดูแลสวนที่ถูกตอง เชน การใสปุยใหตรงกับความตองการของกาแฟ ก็นับเปนสิ่งสําคัญ
                  ที่ตองคํานึงถึง เพราะการใชปจจัยการผลิตที่ไมเหมาะสมจะสงผลใหตนทุนการผลิตกาแฟสูงแตกาแฟ

                  ใหผลผลิตไดไมเต็มที่ ดังนั้นในการจัดการสวนกาแฟเพื่อใหไดผลตอบแทนสูงสุดและผลผลิตกาแฟ

                  มีคุณภาพเปนที่ตองการของตลาด เกษตรกรจึงจําเปนตองมีการดําเนินการในการปลูกและดูแลรักษา
                  อยางเปนระบบและมีเทคนิคในการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตในแตละชวงอายุที่เหมาะสมเพื่อให

                  สอดคลองกับจังหวะการเจริญเติบโตของกาแฟ

                             ในการวิเคราะหการใชปจจัยการผลิตในการปลูกกาแฟในแตละชวงอายุ ในครั้งนี้
                  เปนการวิเคราะหขอมูลจากการสํารวจขอมูลเกษตรกรตัวอยางในพื้นที่ ซึ่งพอสรุปผลการวิเคราะห

                  ไดดังนี้


                             3.2.1.1. การใชปจจัยการผลิตกาแฟพันธุโรบัสตา ในพื้นที่ระดับความเหมาะสม
                  ปานกลาง (S2)

                                      กาแฟ ปที่ 1 ปริมาณปจจัยการผลิตที่เกษตรกรใชในการเพาะปลูกกาแฟ ในปที่ 1 นั้น

                  จากผลการศึกษา พบวา เกษตรกรใชตนพันธุเฉลี่ย 139.00 ตนตอไร ใชปุยเคมีปริมาณเฉลี่ย 50.61 กิโลกรัม

                  ตอไร สูตรปุยเคมีที่เกษตรกรนิยมใช เชน สูตร 15-15-15 สูตร 46-0-0 สูตร 20-20-0 และสูตร 21-0-0 เปนตน







                  เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจกาแฟ                     สํานักนโยบายและแผนการใชที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   138   139   140   141   142   143   144   145   146   147   148