Page 140 - coffee
P. 140

3-30






                             (4) ขอมูลเชิงเลข ไดแก แผนที่กลุมชุดดิน แผนที่สภาพการใชที่ดิน มาตรา

                  สวน 1:25,000 และแผนที่ขอบเขตการปกครอง มาตราสวน 1:50,000 จากกระทรวงมหาดไทย

                             (5) คอมพิวเตอรและอุปกรณตอพวง และซอฟตแวรตางๆ เชน  ระบบชวยการ
                  ตัดสินใจในการถายทอดเทคโนโลยีในทางเกษตร (Decision Support System for Agro-technology

                  Transfer : DSSAT) PLANTGRO และระบบสารสนเทศภูมิศาสตร (Geographic Information System : GIS)

                             (6) อุปกรณสํานักงานเพื่อใชในการผลิตแผนที่และรายงาน

                           2.2)  วิธีการ
                             (1) ศึกษาตรวจสอบชุดดินในสนาม

                             (2) สํารวจและบันทึกขอมูลผลผลิตพืชตามการจัดการระดับเกษตรกร

                             (3) รวบรวมขอมูลพันธุกรรมพืช (Genetic  Coefficients) เปนคาสัมประสิทธิ์

                  บงบอกถึงลักษณะของพืชพันธุใดพันธุหนึ่ง ซึ่งมีความเฉพาะเจาะจงในการตอบสนองตอสิ่งแวดลอม
                                (4) สรางฐานขอมูล

                               การสรางฐานขอมูลดิน สภาพการใชประโยชนที่ดิน และขอมูลภูมิอากาศ

                  ดวยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร (GIS) สรุปไดดังนี้
                              -  ขอมูลชุดดิน มาตราสวน 1:25,000 และทําการกําหนดรหัสชุดดิน

                              -  ขอมูลสภาพการใชประโยชนที่ดิน มาตราสวน 1:25,000 ป พ.ศ. 2549
                              -  ขอมูลภูมิอากาศ สรางฐานขอมูลภูมิอากาศที่นํามาจากกรมอุตุนิยมวิทยา

                  จํานวน 10  ป (พ.ศ. 2541-2550) โดยนําขอมูลจุดพิกัดสถานีตรวจวัดภูมิอากาศ มาสรางขอบเขตพื้นที่

                  ขอมูลภูมิอากาศโดยใชวิธี Theissen  polygon และกําหนดรหัสเขตภูมิอากาศ  เพื่อใชในการเชื่อมโยง
                  ขอมูลระหวางแบบจําลองการปลูกพืชและการแสดงผลเชิงพื้นที่ดวยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร (GIS)

                                (5) สรางหนวยจําลองการผลิต (Simulation Mapping Unit: SMU) หนวยจําลอง
                  การผลิต หมายถึง หนวยแผนที่ที่ไดจากการซอนทับ (Overlay)  ขอมูลดิน สภาพการใชที่ดิน และเขต

                  ภูมิอากาศ ดวยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร (GIS) ประกอบดวยรหัสชุดดินที่มีการปลูกพืชเศรษฐกิจ

                  รหัสเขตภูมิอากาศกํากับอยู ซึ่งเปนขอมูลนําเขาที่สําคัญสําหรับแบบจําลองในการประเมินศักยภาพ
                  ผลผลิต และสรางขึ้นเพื่อใหระบบชวยการตัดสินใจในการถายทอดเทคโนโลยีในทางเกษตร (DSSAT)

                  สามารถทํางานเชื่อมโยงกับระบบสารสนเทศภูมิศาสตรไดอยางมีประสิทธิภาพ

                             (6) สรางแฟมขอมูลสําหรับแบบจําลองการปลูกพืช ไดแก แฟมขอมูลดิน คา
                  สัมประสิทธิ์พันธุกรรมพืช (Genetic  Coefficients)  และขอมูลภูมิอากาศ ไดแก อุณหภูมิสูงสุด-ต่ําสุด

                  ปริมาณน้ําฝน และพลังงานแสงอาทิตย เปนตน










                  เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจกาแฟ                     สํานักนโยบายและแผนการใชที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   135   136   137   138   139   140   141   142   143   144   145