Page 54 - การใช้ข้อมูลสำรวจระยะไกลเพื่อศึกษาความอุดมสมบูรณ์ของดินในพื้นที่เสี่ยง การเป็นดินกรดและดินเค็ม ภาคกลางของประเทศไทย
P. 54

47






                           5.1.3 ค่าดัชนีพืชพรรณ 3 ชนิด ได้แก่ ดัชนี NDVI ดัชนี GNDVI และดัชนี NDII ซึ่งค านวณจากข้อมูล
                       ภาพถ่ายดาวเทียม Sentinel-2 มีศักยภาพในการน ามาประเมินความอุดมสมบูรณ์ของดิน โดยการประเมินค่า
                       ความเป็นกรดเป็นด่างของดินดัชนี NDII และข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมในเดือนมีนาคมให้ความสัมพันธ์สูงที่สุด
                       ค่าการน าไฟฟ้าและปริมาณอินทรียวัตถุ ดัชนี GNDVI และข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมในเดือนธันวาคม

                       ให้ความสัมพันธ์สูงที่สุด
                       5.2 ข้อเสนอแนะ
                            5.2.1 ควรจัดท าแบบจ าลองการความอุดมสมบูรณ์ของดินแยกตามชนิดพืชเนื่องจากพืชแต่ละชนิดมี
                       ช่วงการเจริญเติบโตและแสดงความสัมพันธ์ของค่าการสะท้อนแสงและสมบัติดินที่แตกต่างกันในแต่ละช่วง

                       ของปี
                           5.2.2 การใช้ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมเพื่อประเมินความอุดมสมบูรณ์ของดิน อาจจ าเป็นต้องศึกษา
                       และเก็บข้อมูลในช่วงเวลามีพืชปกคลุม เนื่องจากการใช้ข้อมูลรีโมทเซนซิงอาศัยหลักการการสะท้อนแสง
                       ของพืช โดยบริเวณที่มีความอุดมสมบูรณ์ต่ า เช่น บริเวณที่ค่าความเป็นกรดเป็นด่างต่ าหรือค่าการน าไฟฟ้า

                       ของดินสูง จะมีการเจริญเติบโตของพืชต่ า ส่งผลให้ค่าดัชนีพืชพรรณต่ า ในทางตรงกันข้ามบริเวณที่มีความ
                       อุดมสมบูรณ์สูง การเจริญเติบโตของพืชสูง ส่งผลให้ค่าดัชนีพืชพรรณสูง เป็นต้น
                           5.2.3 ควรทดสอบแบบจ าลอง กับพื้นที่ข้างเคียงเพื่อทดสอบประสิทธิภาพ

                           5.2.4 เนื่องจากการเจริญเติบโตของพืชมีความสัมพันธ์กับสภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลงไปในแต่ละปี
                       การสุ่มเก็บข้อมูลในแต่ละปีที่ศึกษาและจะท าให้โมเดลมีความแม่นย าขึ้น
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59