Page 182 - โครงการศึกษาการจัดทำฐานข้อมูลสารสนเทศพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย
P. 182

2-154





                  ตารางที่ 2.6-13 (ต่อ)


                                                                                         เนื้อที่
                                       ชุดดิน                       สัญลักษณ์
                                                                                    ไร่       ร้อยละ
                      3. กลุ่มดินเปรี้ยวจัด                                          1,803        25.91
                          ชุดดินมหาโพธิ์                               Ma              874        12.57

                          ชุดดินรังสิต                                 Rs              838        12.04
                          ชุดดินองครักษ์                               Ok               91          1.30

                      4. กลุ่มดินร่วนละเอียด                                          800        11.50
                          ชุดดินดอนไร่                                 Dr              800        11.50
                      5. กลุ่มดินริมแม่น้้าหรือตะกอนน้้าพารูปพัด                      311         4.47

                          ชุดดินก าแพงเพชร                             Kp              172          2.47
                          ชุดดินท่าม่วง-ชุดดินก าแพงเพชร             Tm-Kp             139          2.00

                      6. พื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน                                        213         3.06
                          พื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน                        SC              213          3.06


                            6) มะปรางหวานนครนายก จากการวิเคราะห์ข้อมูลการส ารวจดินของกรมพัฒนาที่ดิน
                  มาตราส่วน 1:25,000 (กองส ารวจและวิจัยทรัพยากรดิน, 2561) ข้อมูลสภาพการใช้ที่ดิน (กองนโยบาย
                  และแผนการใช้ที่ดิน, 2563) และข้อมูลขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ที่อยู่ใน

                  ประกาศของกรมทรัพย์สินทางปัญญา พบว่า พื้นที่ปลูกมะปรางส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มดินทรายแป้ง มีเนื้อที่
                  3,090 ไร่ หรือร้อยละ 44.41 ของพื้นที่ปลูกมะปรางทั้งหมดในขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้
                  ทางภูมิศาสตร์ (GI) ที่อยู่ในประกาศของกรมทรัพย์สินทางปัญญา ได้แก่ ชุดดินหินกอง (Hk) รองลงมา
                  คือพื้นที่ปลูกมะปรางในกลุ่มดินเปรี้ยวจัด กลุ่มดินร่วนละเอียด กลุ่มดินตื้น กลุ่มดินริมแม่น้ าหรือตะกอน

                  น้ าพารูปพัด และพื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน มีเนื้อที่ 1,803 800 741 311 และ 213 ไร่ หรือร้อยละ 25.91
                  11.50 10.65 4.47 และ 3.06 ตามล าดับ โดยมีรายละเอียดชุดดินที่พบในพื้นที่ปลูกมะปราง ดังนี้
                  (ตารางที่ 2.6-14 และรูปที่ 2.6-14)
   177   178   179   180   181   182   183   184   185   186   187