Page 180 - โครงการศึกษาการจัดทำฐานข้อมูลสารสนเทศพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย
P. 180

2-152





                            3) ส้มโอขาวใหญ่สมุทรสงคราม จากการวิเคราะห์ข้อมูลการส ารวจดินของกรมพัฒนาที่ดิน

                  มาตราส่วน 1:25,000 (กองส ารวจและวิจัยทรัพยากรดิน, 2561) ข้อมูลสภาพการใช้ที่ดิน (กองนโยบายและ
                  แผนการใช้ที่ดิน, 2563) และข้อมูลขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ที่อยู่ในประกาศของ
                  กรมทรัพย์สินทางปัญญา พบว่า พื้นที่ปลูกส้มโอส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มดินที่มีการยกร่อง มีเนื้อที่ 3,706 ไร่

                  หรือร้อยละ 98.73 ของพื้นที่ปลูกส้มโอทั้งหมดในขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ที่อยู่
                  ในประกาศของกรมทรัพย์สินทางปัญญา ได้แก่ ชุดดินธนบุรี (Tb) ชุดดินสมุทรสงคราม (Sso) และชุดดิน
                  ด าเนินสะดวก (Dn) รองลงมาคือพื้นที่ปลูกส้มโอในกลุ่มดินเหนียว มีเนื้อที่ 48 ไร่ หรือร้อยละ 1.27
                  ของพื้นที่ปลูกส้มโอทั้งหมดในขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ที่อยู่ในประกาศ
                  ของกรมทรัพย์สินทางปัญญา ได้แก่ ชุดดินบางกอก (Bk) โดยมีรายละเอียดชุดดินที่พบในพื้นที่ปลูกส้มโอ

                  ดังนี้ (ตารางที่ 2.6-11 และรูปที่ 2.6-11)


                  ตารางที่ 2.6-11 ชุดดินที่พบในพื้นที่ปลูกส้มโอที่อยู่ในขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI)
                                ส้มโอขาวใหญ่สมุทรสงคราม ที่อยู่ในประกาศของกรมทรัพย์สินทางปัญญา

                                                                                         เนื้อที่
                                       ชุดดิน                       สัญลักษณ์
                                                                                    ไร่       ร้อยละ
                      1. กลุ่มดินที่มีการยกร่อง                                      3,706        98.73

                          ชุดดินด าเนินสะดวก                           Dn                 39          1.05
                          ชุดดินธนบุรี                                 Tb             2,974        79.23

                          ชุดดินสมุทรสงคราม                            Sso              693        18.45
                      2. กลุ่มดินเหนียว                                                  48         1.27
                          ชุดดินบางกอก                                 Bk                 48          1.27


                            4) ลิ้นจี่ค่อมสมุทรสงคราม จากการวิเคราะห์ข้อมูลการส ารวจดินของกรมพัฒนาที่ดิน
                  มาตราส่วน 1:25,000 (กองส ารวจและวิจัยทรัพยากรดิน, 2561) ข้อมูลสภาพการใช้ที่ดิน (กองนโยบาย

                  และแผนการใช้ที่ดิน, 2563) และข้อมูลขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ที่อยู่ใน
                  ประกาศของกรมทรัพย์สินทางปัญญา พบว่า พื้นที่ปลูกลิ้นจี่ส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มดินที่มีการยกร่อง มีเนื้อที่
                  3,096 ไร่ หรือร้อยละ 99.53 ของพื้นที่ปลูกลิ้นจี่ทั้งหมดในขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์
                  (GI) ที่อยู่ในประกาศของกรมทรัพย์สินทางปัญญา ได้แก่ ชุดดินธนบุรี (Tb) ชุดดินสมุทรสงคราม (Sso)

                  และชุดดินด าเนินสะดวก (Dn) รองลงมาคือพื้นที่ปลูกลิ้นจี่ในกลุ่มดินเหนียว มีเนื้อที่ 15 ไร่ หรือร้อยละ
                  0.47 ของพื้นที่ปลูกลิ้นจี่ทั้งหมดในขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ที่อยู่ในประกาศของ
                  กรมทรัพย์สินทางปัญญา ได้แก่ ชุดดินบางกอก (Bk) โดยมีรายละเอียดชุดดินที่พบในพื้นที่ปลูกลิ้นจี่ ดังนี้
                  (ตารางที่ 2.6-12 และรูปที่ 2.6-12)
   175   176   177   178   179   180   181   182   183   184   185