Page 178 - โครงการศึกษาการจัดทำฐานข้อมูลสารสนเทศพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย
P. 178

2-150







                        2.6.2  ภาคกลาง
                            พืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ที่เลือกน ามาศึกษาจากภาคกลาง มีจ านวน 16 ชนิดพืช ได้แก่ ส้มโอ
                  ขาวแตงกวาชัยนาท ส้มโอนครชัยศรี ส้มโอขาวใหญ่สมุทรสงคราม ลิ้นจี่ค่อมสมุทรสงคราม มะยงชิด

                  นครนายก มะปรางหวานนครนายก พริกบางช้าง มะพร้าวน้ าหอมราชบุรี สับปะรดบ้านคา ชมพู่เพชร
                  มะพร้าวทับสะแก มะพร้าวน้ าหอมบ้านแพ้ว ล าไยพวงทองบ้านแพ้ว มะนาวเพชรบุรี กระท้อนตะลุง
                  และละมุดบ้านใหม่

                            1) ส้มโอขาวแตงกวาชัยนาท จากการวิเคราะห์ข้อมูลการส ารวจดินของกรมพัฒนาที่ดิน
                  มาตราส่วน 1:25,000 (กองส ารวจและวิจัยทรัพยากรดิน, 2561) ข้อมูลสภาพการใช้ที่ดิน (กองนโยบาย
                  และแผนการใช้ที่ดิน, 2563) และข้อมูลขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ที่อยู่
                  ในประกาศของกรมทรัพย์สินทางปัญญา พบว่า พื้นที่ปลูกส้มโอส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มดินเหนียว มีเนื้อที่

                  706 ไร่ หรือร้อยละ 42.31 ของพื้นที่ปลูกส้มโอทั้งหมดในขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์
                  (GI) ที่อยู่ในประกาศของกรมทรัพย์สินทางปัญญา ได้แก่ ชุดดินชัยนาท (Cn) ชุดดินสิงห์บุรี (Sin) ชุดดิน
                  มโนรมย์ (Mn) และชุดดินเดิมบาง (Db) รองลงมาคือพื้นที่ปลูกส้มโอในกลุ่มดินร่วนหยาบ กลุ่มดินริม
                  แม่น้ าหรือตะกอนน้ าพารูปพัด และกลุ่มดินร่วนละเอียด มีเนื้อที่ 585 255 และ 123 ไร่ หรือร้อยละ

                  35.05 15.28 และ 7.36 ตามล าดับ โดยมีรายละเอียดชุดดินที่พบในพื้นที่ปลูกส้มโอ ดังนี้ (ตารางที่ 2.6-
                  9 และรูปที่ 2.6-9)

                  ตารางที่ 2.6-9  ปลูกส้มโอที่อยู่ในขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ส้มโอขาวแตงกวา
                                ชัยนาท ที่อยู่ในประกาศของกรมทรัพย์สินทางปัญญา

                                                                                       เนื้อที่
                                       ชุดดิน                     สัญลักษณ์
                                                                                   ไร่        ร้อยละ

                      1. กลุ่มดินร่วนละเอียด                                           123        7.36
                          ชุดดินหนองฉาง                              Nch               123        7.36
                      2. กลุ่มดินร่วนหยาบ                                              585       35.05

                          ชุดดินเขาพลอง                              Kpg               277       16.58
                          ชุดดินสรรพยา                               Sa                308       18.47

                      3. กลุ่มดินริมแม่น้้าหรือตะกอนน้้าพารูปพัด                       255       15.28
                          ชุดดินเชียงใหม่                            Cm                218       13.06
                          ชุดดินดงยางแอน                             Don                37        2.22

                      4. กลุ่มดินเหนียว                                                706       42.31
                          ชุดดินชัยนาท                               Cn                475       28.47

                          ชุดดินเดิมบาง                              Db                 21        1.27
                          ชุดดินมโนรมย์                              Mn                 33        1.98
                          ชุดดินสิงห์บุรี                            Sin               177       10.59
   173   174   175   176   177   178   179   180   181   182   183