Page 144 - โครงการศึกษาการจัดทำฐานข้อมูลสารสนเทศพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย
P. 144

2-116





                             9) กล้วยเล็บมือนางชุมพร

                               ลักษณะภูมิประเทศในพื้นที่ปลูกกล้วยเล็บมือนางชุมพร ตามประกาศของกรม
                  ทรัพย์สินทางปัญญามีขอบเขตครอบคลุมพื้นที่จังหวัดชุมพร ลักษณะพื้นที่จังหวัดชุมพรมีที่ราบทางตอน

                  ตอนกลางของจังหวัดและที่ราบชายฝั่งทะเล พื้นที่ทางทิศตะวันตกเป็นพื้นที่สูงเนื่องจากมีเทือกเขา
                  ตะนาวศรีอยู่ทางทิศตะวันตกของพื้นที่จังหวัด ลักษณะภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน คิด
                  เป็นร้อยละ 45.46 รองลงมาคือพื้นที่ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ พื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย พื้นที่
                  ลูกคลื่นลอนลาด พื้นที่ลูกคลื่นลอนชัน และพื้นที่เนินเขา คิดเป็นร้อยละ 19.89 19.89 9.41 3.92 และ

                  0.76 ของพื้นที่ตามล าดับ (รูปที่ 2.5-47)
                             10) ข้าวเหลืองปะทิวชุมพร

                               ลักษณะภูมิประเทศในพื้นที่ปลูกข้าวเหลืองปะทิวชุมพร ตามประกาศของกรม
                  ทรัพย์สินทางปัญญามีขอบเขตครอบคลุมพื้นที่จังหวัดชุมพร ลักษณะพื้นที่จังหวัดชุมพรมีที่ราบทางตอน
                  ตอนกลางของจังหวัดและที่ราบชายฝั่งทะเล ซึ่งพื้นที่ดังกล่าวมีความเหมาะสมส าหรับการปลูกข้าว

                  เหลืองปะทิวชุมพร พื้นที่ทางทิศตะวันตกเป็นพื้นที่สูงเนื่องจากมีเทือกเขาตะนาวศรีอยู่ทางทิศตะวันตก
                  ของพื้นที่จังหวัด ลักษณะภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน คิดเป็นร้อยละ 45.46 รองลงมา
                  คือพื้นที่ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ พื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย พื้นที่ลูกคลื่นลอนลาด พื้นที่ลูก

                  คลื่นลอนชัน และพื้นที่เนินเขา คิดเป็นร้อยละ 19.89 19.89 9.41 3.92 และ 0.76 ของพื้นที่ตามล าดับ
                  (รูปที่ 2.5-48)
   139   140   141   142   143   144   145   146   147   148   149