Page 107 - โครงการศึกษาการจัดทำฐานข้อมูลสารสนเทศพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย
P. 107

2-79




                  ราบเรียบ พื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย พื้นที่ลูกคลื่นลอนลาด พื้นที่ลูกคลื่นลอนชัน และพื้นที่เนินเขา

                  คิดเป็นร้อยละ 23.87 12.08 6.52 3.01 และ 0.44 ของพื้นที่ตามล าดับ (รูปที่ 2.5-22)

                             15) กระท้อนตะลุง

                               ลักษณะภูมิประเทศในพื้นที่ปลูกกระท้อนตะลุง ครอบคลุมพื้นที่ต าบลงิ้วราย และ
                  ต าบลโพธิ์เก้าต้น อ าเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี พื้นที่บริเวณดังกล่าวเป็นที่ราบลุ่ม มีแม่น้ าลพบุรีไหล
                  ผ่าน ลักษณะภูมิประเทศมีสภาพพื้นที่ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ คิดเป็นร้อยละ 95.11 ของพื้นที่

                  (รูปที่ 2.5-23)
                             16) ละมุดบ้านใหม่


                               ลักษณะภูมิประเทศในพื้นที่ปลูกละมุดบ้านใหม่ ครอบคลุมพื้นที่ต าบลบ้านใหม่ ต าบล
                  ท่าตอ และต าบลบ้านขวาง อ าเภอมหาราช จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พื้นที่บริเวณดังกล่าวเป็นที่ราบลุ่ม
                  ที่อุดมสมบูรณ์ไปด้วยแร่ธาตุต่างๆ เนื่องจากเป็นพื้นที่ที่เกิดจากดินตะกอนแม่น้ าเจ้าพระยาที่ถูกพัดพา
                  มาและเกิดการทับถมเป็นระยะเวลานานหลายปี จนกระทั่งเกิดเป็นแผ่นดินงอกยื่นออกไปตลอดริมฝั่ง

                  คลอง ลักษณะภูมิประเทศมีสภาพพื้นที่ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ คิดเป็นร้อยละ 98.89 ของพื้นที่
                  (รูปที่ 2.5-24)
   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111   112