Page 105 - โครงการศึกษาการจัดทำฐานข้อมูลสารสนเทศพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย
P. 105

2-77




                             5)  มะยงชิดนครนายก


                               ลักษณะภูมิประเทศในพื้นที่ปลูกมะยงชิดนครนายก ครอบคลุมพื้นที่อ าเภอเมือง
                  นครนายก อ าเภอบ้านนา อ าเภอปากพลี และอ าเภอองครักษ์ จังหวัดนครนายก ลักษณะภูมิประเทศ
                  ส่วนใหญ่มีสภาพพื้นที่ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ คิดเป็นร้อยละ 61.86 รองลงมาคือพื้นที่ลาดชัน
                  เชิงซ้อน พื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย พื้นที่ลูกคลื่นลอนลาด พื้นที่เนินเขา และพื้นที่ลูกคลื่นลอนชัน
                  คิดเป็นร้อยละ 29.48 3.91 1.48 0.24 และ 0.09 ของพื้นที่ตามล าดับ (รูปที่ 2.5-13)


                             6)  มะปรางหวานนครนายก
                               ลักษณะภูมิประเทศในพื้นที่ปลูกมะปรางหวานนครนายก ครอบคลุมพื้นที่อ าเภอเมือง

                  นครนายก อ าเภอบ้านนา อ าเภอปากพลี และอ าเภอองครักษ์ จังหวัดนครนายก ลักษณะภูมิประเทศ
                  ส่วนใหญ่มีสภาพพื้นที่ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ คิดเป็นร้อยละ 61.86 รองลงมาคือพื้นที่ลาดชัน
                  เชิงซ้อน พื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย พื้นที่ลูกคลื่นลอนลาด พื้นที่เนินเขา และพื้นที่ลูกคลื่นลอนชัน

                  คิดเป็นร้อยละ 29.48 3.91 1.48 0.24 และ 0.09 ของพื้นที่ตามล าดับ (รูปที่ 2.5-14)

                             7)  พริกบางช้าง

                               ลักษณะภูมิประเทศในพื้นที่ปลูกพริกบางช้าง ครอบคลุมพื้นที่อ าเภออัมพวา และ
                  อ าเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม และพื้นที่อ าเภอด าเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี สภาพพื้นที่
                  โดยทั่วไปเป็นพื้นที่ราบลุ่ม มีแม่น้ าแม่กลองไหลผ่าน ลักษณะภูมิประเทศมีสภาพพื้นที่ราบเรียบถึง
                  ค่อนข้างราบเรียบ คิดเป็นร้อยละ 80.79 ของพื้นที่ (รูปที่ 2.5-15)

                             8) มะพร้าวน้้าหอมราชบุรี

                               ลักษณะภูมิประเทศในพื้นที่ปลูกมะพร้าวน้ าหอมราชบุรี ครอบคลุมพื้นที่ 7 อ าเภอ

                  ได้แก่ อ าเภอด าเนินสะดวก อ าเภอวัดเพลง อ าเภอบ้านโป่ง อ าเภอเมืองราชบุรี อ าเภอบ้านแพ อ าเภอ
                  ปากท่อ และอ าเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี พื้นที่บริเวณดังกล่าวอยู่บริเวณลุ่มน้ าแม่กลอง และทางด้าน
                  ทิศตะวันออกของจังหวัดราชบุรี ลักษณะภูมิประเทศส่วนใหญ่มีสภาพพื้นที่ราบเรียบถึงค่อนข้าง

                  ราบเรียบ คิดเป็นร้อยละ 62.92 รองลงมาคือพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย พื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน พื้นที่
                  ลูกคลื่นลอนลาด พื้นที่ลูกคลื่นลอนชัน และพื้นที่เนินเขา คิดเป็นร้อยละ 14.81 12.41 4.07 1.37 และ
                  0.17 ของพื้นที่ตามล าดับ (รูปที่ 2.5-16)

                             9) สับปะรดบ้านคา

                               ลักษณะภูมิประเทศในพื้นที่ปลูกสับปะรดบ้านคา ครอบคลุมพื้นที่ 4 อ าเภอ ได้แก่
                  อ าเภอจอมบึง อ าเภอปากท่อ อ าเภอสวนผึ้ง และอ าเภอบ้านคา จังหวัดราชบุรี พื้นที่บริเวณดังกล่าวอยู่
                  ในพื้นที่ภูเขาสูงและพื้นที่ราบสูง ความสูงจากระดับน้ าทะเลปานกลางโดยเฉลี่ย 800 เมตร ได้รับอิทธิพล

                  จากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ไม่เต็มที่มากนัก เนื่องจากมีเทือกเขาตะนาวศรีกั้นอยู่ ลักษณะภูมิประเทศ
                  ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน คิดเป็นร้อยละ 46.55 รองลงมาคือพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย
                  พื้นที่ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ พื้นที่ลูกคลื่นลอนลาด พื้นที่ลูกคลื่นลอนชัน และพื้นที่เนินเขา คิด
                  เป็นร้อยละ 21.62 16.85 9.78 2.59 และ 0.43 ของพื้นที่ตามล าดับ (รูปที่ 2.5-17)
   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110