Page 63 - รายงานสภาพการใช้ที่ดิน 2565
P. 63

53








                                      (3) ปาล์มน้ํามัน (A303) มีเนื้อที่ 307 ไร่ หรือร้อยละ 0.01ของเนื้อที่จังหวัด
                       ส่วนใหญ่ปลูกกระจายทั่วทั้งจังหวัด
                                      (4) ไม้ยืนต้นอื่น ๆ ได้แก่ ไม้ยืนต้นร้าง/เสื่อมโทรม ไม้ยืนต้นผสม สัก สะเดา
                       สนประดิพัทธ์ กระถิน ประดู่ หม่อน ไผ่ปลูกเพื่อการค้า และตะกู มีเนื้อที่ 5,333 ไร่ หรือร้อยละ 0.14

                       ของเนื้อที่จังหวัด
                                  4) ไม้ผล (A4) มีเนื้อที่ 7,865 ไร่ หรือร้อยละ 0.24 ของเนื้อที่จังหวัด ได้แก่ ไม้ผลผสม
                       ทุเรียน มะพร้าว มะม่วง มะม่วงหิมพานต์ พุทรา กล้วย มะขาม ลําไย ฝรั่ง มะละกอ มะนาว มะขาม
                       เทศ แก้วมังกร และไม้ผลร้าง/เสื่อมโทรม

                                      (1) มะม่วง (A407) มีเนื้อที่ 4,541 ไร่ หรือร้อยละ 0.14 ของเนื้อที่จังหวัด
                                      (2) กล้วย (A411) มีเนื้อที่ 1,206 ไร่ หรือร้อยละ 0.05 ของเนื้อที่จังหวัด
                                      (3) ไม้ผลอื่นๆ ได้แก่ ไม้ผลผสม ทุเรียน มะพร้าว มะม่วงหิมพานต์ พุทรา มะขาม
                       ลําไย ฝรั่ง มะละกอ มะนาว มะขามเทศ แก้วมังกร และไม้ผลร้าง/เสื่อมโทรม มีเนื้อที่ 2,118 ไร่

                       หรือร้อยละ 0.05 ของเนื้อที่จังหวัด
                                  5) พืชสวน (A5) มีเนื้อที่ 4,967 ไร่ หรือร้อยละ 0.14 ของเนื้อที่จังหวัด พบมากที่สุด
                       เป็นพื้นที่ปลูกพืชผัก (A502) มีเนื้อที่ 4,625 ไร่ หรือร้อยละ 0.14 ของเนื้อที่จังหวัด

                                  6) ทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์และโรงเรือนเลี้ยงสัตว์ (A7) มีเนื้อที่ 77,037 ไร่ หรือร้อยละ 2.33
                       ของเนื้อที่จังหวัด ได้แก่ ทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์ โรงเรือนเลี้ยงโค กระบือ และม้า โรงเรือนเลี้ยงสัตว์ปีก
                       โรงเรือนเลี้ยงสุกร และโรงเรือนร้าง โดยมีโรงเรือนเลี้ยงโค กระบือ และม้า มีเนื้อที่ 53,747 ไร่ หรือ
                       ร้อยละ 1.63 ของเนื้อที่จังหวัด
                                  7) พืชน้ํา (A8) มีเนื้อที่ 121 ไร่ ได้แก่ บัว

                                  8) สถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ํา (A9) มีเนื้อที่ 12,570 ไร่ หรือร้อยละ 0.38 ของเนื้อที่
                       จังหวัด ประกอบด้วยสถานที่เพาะเลี้ยงปลา และสถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ําผสมร้าง มีเนื้อที่ 12,247
                       และ 323 ไร่ หรือร้อยละ 0.37 และ 0.01 ของเนื้อที่จังหวัด ส่วนใหญ่อยู่ในอําเภอโกสุมพิสัย

                                  9) เกษตรผสมผสาน/ไร่นาสวนผสม มีเนื้อที่ 477 ไร่ หรือร้อยละ 0.02 ของเนื้อที่จังหวัด
                            2.5.3 พื้นที่ป่าไม้ (F) มีเนื้อที่ 126,772 ไร่ หรือร้อยละ 3.83 ของเนื้อที่จังหวัด ประกอบด้วย
                       ป่าไม่ผลัดใบรอสภาพฟื้นฟู ป่าผลัดใบรอสภาพฟื้นฟู ป่าผลัดใบสมบูรณ์ ป่าปลูกรอสภาพฟื้นฟู และ
                       ป่าปลูกสมบูรณ์ มีเนื้อที่ 1,436 62,733 43,798 75 และ18,730 ไร่ หรือร้อยละ 0.04 1.90 1.32

                       0.00 และ 0.57 ของเนื้อที่จังหวัด โดยมีเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าดูนลําพัน และวนอุทยานโกสัมพี
                            2.5.4 พื้นที่น้ํา (W) จังหวัดมหาสารคามมีแหล่งน้ํามากมายหลายประเภท กระจายอยู่ทุกอําเภอมี
                       เนื้อที่ 137,892 ไร่ หรือร้อยละ 4.17 ของเนื้อที่จังหวัด ได้แก่
                                  1) แหล่งน้ําธรรมชาติ (W1) เช่น แม่น้ํา ลําห้วย ลําคลอง หนอง บึง และทะเลสาบ มีเนื้อที่

                       77,351 ไร่ หรือร้อยละ 2.34 ของเนื้อที่จังหวัด โดยมีแม่น้ําสายหลักและคลองสําคัญ ได้แก่ แม่น้ําชี
                       ลําห้วยต่าง ๆ ที่สําคัญ ได้แก่ ลําพังชู
   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68