Page 68 - รายงานการศึกษาการประเมินแนวโน้มและทิศทางการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน
P. 68

- 28 -


               ตารางที่ 5.3: ผลวิเคราะห์คุณสมบัติทางเคมีของดินตัวอย่างพื้นที่ศึกษา

                 จุดเก็บ   แปลงพืช                         ผลการวิเคราะห์แยกตามวิธีเก็บ
                                        pH        % OC        % OM         % N        Avail. P   Avail. K
                                     A     B     A     B     A     B     A      B     A    B     A     B

                   1    ยางพารา      5.1   5.1   0.54   0.50   0.93   0.87   0.05   0.04   32   3   19   48
                   2    ยางพารา      5.6   5.7   0.19   0.31   0.32   0.53   0.02   0.03   3   5   12   19
                   3    ยางพารา      6.3   5.9   0.34   0.33   0.59   0.57   0.03   0.03   6   6   12   11
                   4    ยางพารา      5.3   5.3   0.09   0.22   0.15   0.38   0.01   0.02   2   3   16   10
                   5    มันสำปะหลัง   4.8   4.4   0.30   0.35   0.52   0.60   0.03   0.03   5   5   25   22
                   6    นาข้าว       4.7   4.1   0.60   0.99   1.03   1.70   0.05   0.08   3   4   33   20
                   7    ยางพารา      4.7   4.0   0.27   0.32   0.46   0.55   0.02   0.03   3   3   23   24
                   8    ยางพารา      4.8   3.9   0.36   0.42   0.62   0.73   0.03   0.04   2   3   12   16
                   9    ยางพารา      4.9   4.0   0.40   0.49   0.69   0.85   0.03   0.04   3   3   14   19
                   10   ป่าไม้       5.0   4.2   0.52   0.46   0.89   0.80   0.04   0.04   3   3   43   41
                   11   มันสำปะหลัง   4.7   4.2   0.64   0.79   1.11   1.36   0.05   0.07   6   6   40   35
                   12   นาข้าว       5.1   4.3   0.20   0.27   0.35   0.46   0.02   0.02   2   11   10   20
                   13   อ้อย         4.8   4.3   0.22   0.24   0.38   0.41   0.02   0.02   2   4   12   16
                   14   นาข้าว       5.1   4.4   0.44   0.40   0.76   0.69   0.04   0.03   5   7   10   24
                   15   ยางพารา      5.8   5.3   0.49   0.43   0.84   0.74   0.04   0.04   422   4   483   20
                          ระดับค่าพิสัยศักยภาพการกักเก็บคาร์บอน (%OC) ในดินจากพื้นที่ป่าและพื้นที่ปลูกพืชเศรษฐกิจ

                     ป่าไม้        มันสำปะหลัง          นาข้าว             อ้อย              ยางพารา
                    0.46–0.52        0.30–0.79         0.20–0.99          0.22–0.24          0.09–0.54
                                              ระดับค่าพิสัยผลการวิเคราะห์ดินตัวอย่าง
                      pH            % OC            % OM           % N           Avail. P       Avail. K

                     3.9–6.3       0.185–0.99      0.15–1.70     0.0075–0.085     2–422          10–483
               ที่มา: ปรับปรุงจากผลการวิเคราะห์ดินตัวอย่าง (ภาคผนวก 4)
               หมายเหตุ: % OC = % OM / 1.724

                      % N = OM * 0.05


               5.4  การประเมินความเหมาะสมของที่ดินสำหรับพืชเศรษฐกิจ (Land Suitability) ในพื้นที่ศึกษา โดยใช้
               ข้อมูลดินจากฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก (Agri-Map) ประกอบการวิเคราะห์ และการประยุกต์ใช้

               สำหรับไม้เศรษฐกิจ (Economic Trees) การศึกษาตามหลักการ FAO Framework 1983 ปรากฏผล
               ตามตารางที่ 5.4 (ภาคผนวก 8)

                   5.4.1 การประเมินความเหมาะสมที่ดินสำหรับพืชเศรษฐกิจหลัก 5 ชนิด  ได้แก่ มันสำปะหลัง ข้าว อ้อย
                                                                                9
               ยางพารา และปาล์มน้ำมัน ดังรูปที่ 5.31–5.36





               9  อ้างอิงตามแผนที่สภาพการใช้ที่ดิน (บทที่ 4 รูปที่ 4.1) และจากผลการสำรวจทัศนคติเกษตรกร
   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73