Page 32 - รายงานประจำปี 2565
P. 32

การศึกษาคุณภาพชีวิตของเกษตรกรที่เข้าร่วม

                                    โครงการ 1 ต้าบล 1 กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ ปี 2565


                                                                                  โดย กลุ่มเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร

                                                         มนุษย์เป็นทรัพยากรส้าคัญในการพัฒนาประเทศ เป้าหมาย
                                              ของการพัฒนาประเทศ คือ การส่งเสริมให้ประชาชนมีชีวิต และความเป็นอยู่

                                              ที่ดีไม่ว่าจะเป็นด้านเศรษฐกิจและสังคม ปราศจากโรคภัย มีสภาพจิตใจที่ดี
                                              สิ่งเหล่านี้เป็นประเด็นที่มุ่งยกระดับคุณภาพชีวิต ซึ่งเป็นหน้าที่ส้าคัญของภาครัฐ

                                              อนึ่งภาคการเกษตรไทยเป็นภาคการผลิตอาหารที่ส้าคัญเพื่อการบริโภค
                                              ภายในประเทศ และส่งออกสินค้าเกษตรไปต่างประเทศ ด้วยจ้านวนประชากร

                                              ที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ท้าให้ขนาดเนื้อที่ถือครองทางการเกษตรต่อครัวเรือน
                                              ลดลง อีกทั้งการท้าเกษตรแบบดั้งเดิมโดยการปลูกพืชเชิงเดี่ยวส่งผลให้

                                              เกษตรกรมีรายได้ไม่เพียงพอกับรายจ่าย เกิดการเคลื่อนย้ายแรงงานภาค
               การเกษตรส่งผลให้ประสิทธิภาพในการผลิตลดลง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้จัดท้าโครงการ 1 ต้าบล 1 กลุ่มเกษตร
               ทฤษฎีใหม่ น้อมน้าหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่มาเป็นแนวทางในการด้าเนินงาน

               เพื่อช่วยเหลือเกษตรกรด้านเศรษฐกิจและสังคม บรรเทาปัญหาการว่างงาน ลดปัญหาการเคลื่อนย้ายแรงงานใน
               ภาคการเกษตร สร้างอาชีพ เพิ่มรายได้ มุ่งสู่ระบบเกษตรกรรมมั่นคง ยั่งยืน สร้างความเข้มแข็งให้กับครัวเรือนและ

               ชุมชนในท้องถิ่น โดยการพัฒนาพื้นที่ทางการเกษตรรูปแบบใหม่เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ทั้งนี้ กรมพัฒนาที่ดิน
               ได้ด้าเนินงานด้านการจัดการการใช้น้้าในพื้นที่แปลงเกษตร จัดระบบการปลูกพืชที่เหมาะสมให้เกษตรกรสามารถ

               สร้างรายได้ตลอดทั้งปี ซึ่งข้อมูลทางด้านเศรษฐกิจและสังคมจะสะท้อนคุณภาพชีวิตและความพึงพอใจ
               ของเกษตรกร เพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจวางแผนการผลิต ดังนั้น กลุ่มเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร

               จึงจ้าเป็นต้องท้าการศึกษาคุณภาพชีวิตของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการฯ 1 ต้าบล 1 กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ โดยมี
               วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณภาพชีวิตของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการฯ และวิเคราะห์รายได้ก่อนและหลังเข้าร่วม
               โครงการฯ เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของเกษตรกร โดยรวบรวมข้อมูล

               เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการฯ ในปีงบประมาณ 2564 จากส้านักงานพัฒนาที่ดินเขต 1-12 วิเคราะห์ข้อมูล 3 ด้าน คือ

               ด้านภาวะเศรษฐกิจและสังคม ด้านภาวะการผลิต ด้านคุณภาพชีวิตและทัศนคติ มีรายละเอียด ดังนี้
                           ด้านภาวะเศรษฐกิจและสังคม เกษตรกรเป็นเพศชายร้อยละ 53.57 และเพศหญิงร้อยละ 46.43
               มีอายุเฉลี่ย 52 ปี ส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือประกาศนียบัตรวิชาชีพ มีสถานภาพ
               ทางสังคมเป็นเกษตรกรทั่วไป พื้นที่เข้าร่วมโครงการเฉลี่ย 3.75 ไร่ต่อครัวเรือน สถานภาพด้านการเงินมีรายได้เฉลี่ย

               ต่อครัวเรือน 204,024.28 บาทต่อปี (รายได้ในภาคการเกษตรร้อยละ 56.82 และนอกภาคการเกษตรร้อยละ 43.18)
               มีรายจ่ายเฉลี่ยต่อครัวเรือน 140,294.29 บาทต่อปี หรือร้อยละ 68.76 ของรายได้ทั้งหมด รายได้สุทธิคงเหลือ

               63,729.99 บาทต่อครัวเรือน ภาวะหนี้สินมีการกู้ยืมเงินร้อยละ 62.14 ของครัวเรือนทั้งหมด ส้าหรับสถานภาพ
               ด้านแรงงาน ครัวเรือนเกษตรมีแรงงานในภาคการเกษตรเพิ่มขึ้นหลังเข้าร่วมโครงการฯ เนื่องจากมีกิจกรรมในการ

               ผลิตทางการเกษตรมากขึ้นจากการปรับเปลี่ยนการผลิตจากเกษตรเชิงเดี่ยวเป็นเกษตรผสมผสานแรงงานในภาค
               การเกษตรเพิ่มขึ้นจาก 2.12 คนต่อครัวเรือน เป็น 2.24 คนต่อครัวเรือน หรือร้อยละ 5.66 ซึ่งเป็นแรงงานคืนถิ่น

               เฉลี่ย 1.36 คนต่อครัวเรือน หรือร้อยละ 3.61 ของแรงงานภาคการเกษตรในครัวเรือน




                       30
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37