Page 32 - ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจยางพารา
P. 32

3-2






                                    (2) พื้นที่ดินที่มีความเหมาะสมทางกายภาพปานกลาง (S2)

                                         เกษตรกรส่วนใหญ่ปลูกยางพาราพันธุ์ RRIM600 ร้อยละ 97.96
                  และพันธุ์ RRIT251 ร้อยละ 2.04 มีเนื้อที่ปลูกและเนื้อที่เก็บเกี่ยวเฉลี่ย 13.39 ไร่ต่อครัวเรือน ระยะปลูก
                  ยางพาราที่เกษตรกรปลูกส่วนใหญ่ คือ ระยะ 3x7 เมตร ร้อยละ 85.71 รองลงมาคือ ระยะ 4x6 เมตร

                  ร้อยละ 6.13 ระยะ 3x6 เมตร และระยะ 3x8 เมตร ร้อยละ 4.08 เท่ากัน มีจ านวนต้นเฉลี่ย 76 ต้นต่อไร่
                  อายุพืชเฉลี่ย 17 ปี โดยเกษตรกรส่วนใหญ่เปิดหน้ายางพาราในเดือนพฤษภาคมร้อยละ 89.80
                  เดือนมิถุนายนร้อยละ 10.20 และปิดหน้ายางพาราในเดือนมีนาคมทั้งหมด โดยมีลักษณะการกรีด
                  เป็นการกรีด 2 วัน หยุด 1 วัน ร้อยละ 69.39 รองลงมาคือ 3 วัน หยุด 1 วัน ร้อยละ 24.49
                  และ 1 วัน หยุด 1 วัน ร้อยละ 6.12 ซึ่งมีจ านวนวันกรีดในรอบปีเฉลี่ย 146 วัน ทั้งนี้แหล่งน้ าที่ใช้

                  ในการดูแลยางพาราคือ น้ าฝนเพียงอย่างเดียว
                                    (3) พื้นที่ดินที่มีความเหมาะสมทางกายภาพเล็กน้อย (S3)
                                        เกษตรกรส่วนใหญ่ ปลูกยางพาราพั นธุ์ RRIM600 ร้อยละ 93.94

                  และพันธุ์ RRIT251 ร้อยละ 6.06 มีเนื้อที่ปลูกและเนื้อที่เก็บเกี่ยวเฉลี่ย 13.91 ไร่ต่อครัวเรือน ระยะปลูก
                  ยางพาราที่เกษตรกรปลูกส่วนใหญ่ คือ ระยะ 3x7 เมตร ร้อยละ 75.76 รองลงมาคือ ระยะ 3x6 เมตร
                  และระยะ 3x8 เมตร ร้อยละ 9.09 เท่ากัน และระยะ 4x7 เมตร ร้อยละ 6.06 มีจ านวนต้นเฉลี่ย 74 ต้นต่อไร่
                  อายุพืชเฉลี่ย 18 ปี โดยเกษตรกรส่วนใหญ่เปิดหน้ายางพาราในเดือนพฤษภาคมร้อยละ 87.88

                  เดือนมิถุนายนร้อยละ 12.12 และปิดหน้ายางพาราในเดือนมีนาคมร้อยละ 93.94 เดือนเมษายน
                  ร้อยละ 6.06 โดยมีลักษณะการกรีดเป็นการกรีด 2 วัน หยุด 1 วัน ร้อยละ 87.88 และ 3 วัน หยุด 1 วัน
                  ร้อยละ 12.12 ซึ่งมีจ านวนวันกรีดในรอบปีเฉลี่ย 144 วัน ทั้งนี้แหล่งน้ าที่ใช้ในการดูแลยางพาราคือ น้ าฝน
                  เพียงอย่างเดียว

                                    (4) เฉลี่ยรวม
                                        เกษตรกรส่วนใหญ่ ปลูกยางพาราพั นธุ์ RRIM600 ร้อยละ 95.73
                  และพันธุ์ RRIT251 ร้อยละ 4.27 มีเนื้อที่ปลูกและเนื้อที่เก็บเกี่ยวเฉลี่ย 13.53 ไร่ต่อครัวเรือน ระยะปลูก
                  ยางพาราที่เกษตรกรปลูกส่วนใหญ่ คือ ระยะ 3x7 เมตร ร้อยละ 84.62 รองลงมาคือ ระยะ 3x6 เมตร

                  ร้อยละ 5.99 ระยะ 3x8 เมตร ร้อยละ 4.27 ระยะ 4x7 เมตร และระยะ 4x6 เมตร ร้อยละ 2.56
                  เท่ากัน มีจ านวนต้นเฉลี่ย 76 ต้นต่อไร่ อายุพืชเฉลี่ย 17 ปี โดยเกษตรกรส่วนใหญ่เปิดหน้ายางพารา
                  ในเดือนพฤษภาคมร้อยละ 87.18 เดือนมิถุนายนร้อยละ 12.82 และปิดหน้ายางพาราในเดือนมีนาคม

                  ร้อยละ 97.44 เดือนเมษายนร้อยละ 2.56 โดยมีลักษณะการกรีดเป็นการกรีด 2 วัน หยุด 1 วัน
                  ร้อยละ 76.92 รองลงมาคือ 3 วัน หยุด 1 วัน ร้อยละ 20.52 และ 1 วัน หยุด 1 วัน ร้อยละ 2.56
                  ซึ่งมีจ านวนวันกรีดในรอบปีเฉลี่ย 145 วัน ทั้งนี้แหล่งน้ าที่ใช้ในการดูแลยางพาราคือ น้ าฝนเพียงอย่างเดียว
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37