Page 93 - ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจข้าวนาปี
P. 93

4-11





                             3) เปรียบเทียบผลตอบแทนทางเศรษฐกิจตามชั้นความเหมาะสมของที่ดิน (ตารางที่ 4-1)

                               3.1) ข้าวนาปี
                                     จากการพิจารณาต้นทุนและผลตอบแทนการผลิต พบว่า ผลผลิต ปริมาณ
                  ผลผลิตที่ได้เป็นไปตามศักยภาพของพื้นที่ดินที่มีความเหมาะสมทางกายภาพในแต่ละระดับชั้น พื้นที่ดิน

                  ที่มีความเหมาะสมสูง (S1) ปานกลาง (S2) และเล็กน้อย (S3) ปริมาณผลผลิตเฉลี่ย 788.42  563.94
                  และ 371.69 กิโลกรัมต่อไร่ ตามล าดับ ต้นทุนการผลิต ในพื้นที่ดินที่มีความเหมาะสมสูง (S1) เกษตรกร
                  ใช้ต้นทุนทั้งหมดมากที่สุด 4,628.63 บาทต่อไร่ ขณะที่ในพื้นที่ดินที่มีความเหมาะสมปานกลาง
                  (S2) และเล็กน้อย (S3) ใช้ต้นทุนทั้งหมด 4,005.72 และ 4,082.58 บาทต่อไร่ ตามล าดับ แต่เมื่อ
                  เปรียบเทียบจากต้นทุนต่อหน่วยพื้นที่ดินที่มีความเหมาะสมสูง (S1) มีต้นทุนน้อยที่สุดคือ มีต้นทุน

                  ต่อหน่วย 5.87 บาทต่อกิโลกรัม น้อยกว่าพื้นที่ดินที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) และเล็กน้อย (S3)
                  ที่มีต้นทุนต่อหน่วย 7.10 และ 10.98 บาทต่อกิโลกรัม ตามล าดับ เนื่องจากต้นทุนการผลิตผันแปร
                  ตามปริมาณผลผลิตที่ได้ มูลค่าผลผลิต การผลิตในพื้นที่ดินที่มีความเหมาะสมสูง (S1) ได้รับมูลค่า

                  ผลผลิตหรือรายได้มากกว่าในพื้นที่ดินที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) และเล็กน้อย (S3) มูลค่าผลผลิต
                  6,733.11  4,816.05 และ 3,174.23 บาทต่อไร่ ตามล าดับ ผลตอบแทนการผลิต การผลิตในพื้นที่ดินที่
                  มีความเหมาะสมสูง (S1) ได้รับผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมดหรือก าไรสุทธิมากกว่าพื้นที่ดิน
                  ที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) และเล็กน้อย (S3) ได้แก่ 2,104.48  810.33 และขาดทุน 908.35

                  บาทต่อไร่ ตามล าดับ ซึ่งแสดงให้เห็นว่าการผลิตในพื้นที่ดินที่มีความเหมาะสมสูง (S1) มีความเหมาะสม
                  และให้ผลก าไรจากการผลิตมากที่สุด ความคุ้มค่าทางด้านเศรษฐกิจ พื้นที่ดินที่มีความเหมาะสมสูง (S1)
                  ปานกลาง (S2) และเล็กน้อย (S3) มีอัตราส่วนรายได้ต่อต้นทุนทั้งหมดเท่ากับ 1.45  1.20 และ 0.78
                  ตามล าดับ แสดงว่าการผลิตในพื้นที่เหมาะสมสูง (S1) และปานกลาง (S2) มีความคุ้มค่าในการลงทุน

                  สามารถท าการผลิตได้แต่การผลิตในพื้นที่เหมาะสมเล็กน้อย (S3) ไม่มีความคุ้มค่าในการลงทุนเกษตรกร
                  ควรปรับเปลี่ยนการผลิตโดยผลิตพืชชนิดอื่นที่เหมาะสมกับศักยภาพของที่ดิน
                               3.2) ข้าวหอมมะลิ
                                      จากการพิจารณาต้นทุนและผลตอบแทนการผลิต พบว่า ผลผลิต ปริมาณ

                  ผลผลิตที่ได้เป็นไปตามศักยภาพของพื้นที่ดินที่มีความเหมาะสมทางกายภาพในแต่ละระดับชั้น พื้นที่ดิน
                  ที่มีความเหมาะสมสูง (S1) ปานกลาง (S2) และเล็กน้อย (S3) ปริมาณผลผลิตเฉลี่ย 737.33  554.49
                  และ 385.56 กิโลกรัมต่อไร่ ตามล าดับ ต้นทุนการผลิต ในพื้นที่ดินที่มีความเหมาะสมสูง (S1) เกษตรกร

                  ใช้ต้นทุนทั้งหมดมากที่สุด 4,381.77 บาทต่อไร่ ขณะที่ในพื้นที่ดินที่มีความเหมาะสมปานกลาง
                  (S2) และเล็กน้อย (S3) ใช้ต้นทุนทั้งหมด 3,970.06 และ 4,025.20 บาทต่อไร่ ตามล าดับ แต่เมื่อ
                  เปรียบเทียบจากต้นทุนต่อหน่วยพื้นที่ดินที่มีความเหมาะสมสูง (S1) มีต้นทุนน้อยที่สุดคือ มีต้นทุน
                  ต่อหน่วย 5.94 บาทต่อกิโลกรัม น้อยกว่าพื้นที่ดินที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) และเล็กน้อย (S3)
                  ที่มีต้นทุนต่อหน่วย 7.16 และ 10.44 บาทต่อกิโลกรัม ตามล าดับ เนื่องจากต้นทุนการผลิตผันแปร

                  ตามปริมาณผลผลิตที่ได้ มูลค่าผลผลิต การผลิตในพื้นที่ดินที่มีความเหมาะสมสูง (S1) ได้รับมูลค่า
                  ผลผลิตหรือรายได้มากกว่าในพื้นที่ดินที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) และเล็กน้อย (S3) มูลค่าผลผลิต
                  6,680.21  5,023.68 และ 3,493.17 บาทต่อไร่ ตามล าดับ ผลตอบแทนการผลิต การผลิตในพื้นที่ดินที่

                  มีความเหมาะสมสูง (S1) ได้รับผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมดหรือก าไรสุทธิมากกว่าพื้นที่ดิน
   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98