Page 90 - ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจข้าวนาปี
P. 90

4-8





                                         ความคุ้มค่าทางด้านเศรษฐกิจมีอัตราส่วนรายได้ต่อต้นทุนทั้งหมด

                  (B/C Ratio) เท่ากับ 1.14 แสดงว่ามีประสิทธิภาพการผลิตคุ้มค่าการลงทุน และมีระดับผลผลิตคุ้มทุน
                  378.42 กิโลกรัมต่อไร่ ซึ่งปริมาณผลผลิตที่เกินกว่าระดับผลผลิตคุ้มทุนจะได้รับก าไร 2.66
                  บาทต่อกิโลกรัม

                                    (3)  เฉลี่ย
                                       สภาพการผลิต เกษตรกรทั้งหมดปลูกข้าวพันธุ์พิษณุโลก 2 มีเนื้อที่เพาะปลูก
                  และเก็บเกี่ยวเฉลี่ย 9.11 ไร่ต่อครัวเรือน ปลูกด้วยวิธีหว่านเมล็ดพันธุ์ร้อยละ 22.22 และปักด า
                  ร้อยละ 77.78 อายุพืชเฉลี่ย 3.78 เดือน เริ่มท าการผลิตมากที่สุดเดือนมิถุนายนร้อยละ 77.78 และ
                  เก็บเกี่ยวผลผลิตมากที่สุดเดือนตุลาคมร้อยละ 66.67 แหล่งน้ าที่ใช้ในการผลิตคือ น้ าฝนเพียงอย่างเดียว

                  ร้อยละ 33.33 และน้ าฝนร่วมกับแหล่งน้ าอื่นร้อยละ 66.67 โดยเกษตรกรส่วนใหญ่ร้อยละ 98.77
                  ปลูกเพื่อจ าหน่ายซึ่งเป็นการจ าหน่ายแบบอิสระทั้งหมดมีพ่อค้าในท้องถิ่นเป็นผู้รับซื้อ สถานที่จ าหน่าย
                  ส่วนใหญ่คือ จุดรับซื้อ (โรงสี,ลานข้าว) ระยะทางในการขนส่งเฉลี่ย 17.33 กิโลเมตร

                                         ต้นทุนการผลิตทั้งหมด 5,119.77 บาทต่อไร่ ประกอบด้วย ต้นทุนผันแปร
                  3,923.08 บาทต่อไร่ (ร้อยละ 76.63) และต้นทุนคงที่ 1,196.69 บาทต่อไร่ (ร้อยละ 23.37) ซึ่งมี
                  ต้นทุนต่อหน่วย 5.89 บาทต่อกิโลกรัม
                                         ผลตอบแทนการผลิต ประกอบด้วย ปริมาณผลผลิต 868.78 กิโลกรัมต่อไร่

                  มีมูลค่าผลผลิต 6,567.98 บาทต่อไร่ ได้รับผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมด 1,448.21 บาทต่อไร่
                  ผลตอบแทนต่อหน่วย 1.67 บาทต่อกิโลกรัม
                                         ความคุ้มค่าทางด้านเศรษฐกิจมีอัตราส่วนรายได้ต่อต้นทุนทั้งหมด
                  (B/C Ratio) เท่ากับ 1.28 แสดงว่ามีประสิทธิภาพการผลิตคุ้มค่าการลงทุน และมีระดับผลผลิตคุ้มทุน

                  393.65 กิโลกรัมต่อไร่ ซึ่งปริมาณผลผลิตที่เกินกว่าระดับผลผลิตคุ้มทุนจะได้รับก าไร 3.04
                  บาทต่อกิโลกรัม

                               2.4) ข้าวเหนียว
                                     วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้ราคาข้าวเปลือกเหนียวที่เกษตรกรจ าหน่ายได้ ณ ไร่นา เฉลี่ย

                  7.48 บาทต่อกิโลกรัม
                                    (1)  พื้นที่ดินที่มีความเหมาะสมทางกายภาพสูง (S1)
                                         สภาพการผลิต เกษตรกรทั้งหมดปลูกข้าวพันธุ์กข 6 มีเนื้อที่เพาะปลูกและ
                  เก็บเกี่ยวเฉลี่ย 2.77 ไร่ต่อครัวเรือน ปลูกด้วยวิธีหว่านเมล็ดพันธุ์ร้อยละ 84.62 และปักด า
                  ร้อยละ 15.38 อายุพืชเฉลี่ย 3.97 เดือน เริ่มท าการผลิตมากที่สุดเดือนมิถุนายนร้อยละ 46.15

                  และเก็บเกี่ยวผลผลิตมากที่สุดเดือนพฤศจิกายนร้อยละ 69.23 แหล่งน้ าที่ใช้ในการผลิตคือ น้ าฝน
                  เพียงอย่างเดียว และน้ าฝนร่วมกับแหล่งน้ าอื่นร้อยละ 50.00 เท่ากัน โดยเกษตรกรปลูก
                  เพื่อจ าหน่ายและเก็บผลผลิตไว้เพื่อบริโภคและหรือเป็นเมล็ดพันธุ์ในสัดส่วนใกล้เคียงกันคือ

                  เพื่อจ าหน่ายร้อยละ 53.47 และเก็บผลผลิตไว้ร้อยละ 46.53 (บริโภคร้อยละ 44.87 และเก็บไว้เป็น
                  เมล็ดพันธุ์ร้อยละ 1.66) ส่วนวิธีการจ าหน่ายเป็นการจ าหน่ายแบบอิสระทั้งหมดมีพ่อค้าในท้องถิ่น
                  เป็นผู้รับซื้อ สถานที่จ าหน่ายส่วนใหญ่คือ จุดรับซื้อ (โรงสี, ลานข้าว) ระยะทางในการขนส่งเฉลี่ย 6.68
                  กิโลเมตร
   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95