Page 87 - รายงานสำรวจทะเบียนรายชื่อพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับท้องถิ่น อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
P. 87

3-3





                             สำหรับอัตราสวนพึ่งพิง (Dependency Ratio) เปนการพิจารณาอัตราสวนของประชากร

                  ที่อยูในกลุมอายุนอกวัยแรงงานตอประชากรในวัยแรงงาน พบวา ประชากรวัยแรงงานในพื้นที่ศึกษา
                                                                                                 ิ
                                                                                              ึ่
                  100 คน ตองรับภาระดูแลเด็กและผูสูงอายุประมาณ 51 คน ขณะที่เมื่อพิจารณาเฉพาะอัตราสวนพงพงวัยเด็ก
                                                                                                      ิ
                  พบวา ประชากรวัยแรงงานในพื้นที่ศึกษา 100 คน ตองรับภาระดูแลเด็กประมาณ 20 คน และอัตราสวนพึ่งพง
                  วัยสูงอายุ ประชากรวัยแรงงานในพื้นที่ศึกษา 100 คน ตองรับภาระดูแลผูสูงอายุประมาณ 31 คน
                  (ตารางที่ 3-3)

                  ตารางที่ 3-3 อัตราสวนพึ่งพิง (Dependency Ratio)

                                                  รายการ                                  จำนวน (คน)

                    
                   ตอ แรงงาน 100 คน         เด็ก (0-14 ป)                                    20
                                            ผูสูงอายุ (60 ปขนไป)                            31
                                                          ึ
                                                          ้
                                            เด็ก (0-14 ป) และ ผูสูงอายุ (60 ปขึ้นไป)       51

                  ที่มา: จากการคำนวณ

                             เมื่อพิจารณาโครงสรางทางอายุและเพศของประชากร โดยวิธีการสรางปรามิดประชากร
                  (Population Pyramid) ซึ่งมีลักษณะเปนกราฟแทงแนวนอนทั้งดานซายและขวาของแกนปรามิด
                    ื
                                               
                             ี
                  เพ่อเปรียบเทยบใหเห็นความแตกตางของจำนวนประชากรหรือสัดสวนรอยละของประชากรในแตละชวง
                                                                                                  
                                          
                  อายุระหวางเพศชาย (กราฟแทงดานขวา) และเพศหญิง (กราฟแทงดานซาย) อยางชัดเจน โดยอายุนอยทสุดจะ
                                                                                                  ี
                                            
                                                                                                  ่
                  อยูแทงลางสุด เริ่มตั้งแตชวงนอยกวา 1 ปเต็ม และสูงขึ้นเรื่อย ๆ ดานบนสุด คือ ชวงอายุที่สูงที่สุด
                  รูปรางของปรามิดจะแสดงใหเห็นถึงผลสะสมของการเกิดและการตาย เชน ถาจำนวนคนเกิดมาก
                                                          ิ
                                                                    
                                                                               ิ
                                ็
                  ประชากรในวัยเดกจะมจำนวนมาก ฐานของปรามดจะกวาง ถาจำนวนคนเกดนอย ฐานของปรามดจะแคบ
                                     ี
                                                                                                ิ
                  จากรูปที่ 3-2 พบวา ปรามิดมีรูปแบบหดตัว (Constrictive Pyramid) มีลักษณะเปนฐานแคบตรงกลาง
                  พองออกและยอดคอย ๆ แคบเขา แสดงวาจำนวนคนเกิดและจำนวนคนตายลดลง สะทอนใหเห็นถึง
                                      ี่
                  แนวโนมสังคมผูสูงอายุทเพิ่มขึ้นในอนาคต การเปลี่ยนแปลงโครงสรางของประชากรในอนาคตลักษณะนี้
                                            ึ้
                  จะสงผลใหพบผูที่มีอายุยืนมากขน แตจะขาดแคลนแรงงานที่จะปอนสูภาคการเกษตร ภาคอุตสาหกรรม
                                        ี
                  และธุรกิจตาง ๆ ปญหาท่จะพบตามมา คือ อาจตองมการนำเขาแรงงานจากตางถ่น ท้งนี้รัฐตอง
                                                                                              ั
                                                                          
                                                                                          ิ
                                                                 ี
                  มมาตรการในการควบคมดูแลการนำเขาแรงงาน โดยเฉพาะอยางยิ่งแรงงานที่ผิดกฎหมายทอาจนำมาซง
                                                  
                                                                                                      ึ่
                                      ุ
                                                                                             ี่
                   ี
                  ปญหาตาง ๆ ได
   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92