Page 82 - รายงานสำรวจทะเบียนรายชื่อพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับท้องถิ่น อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
P. 82

2-68





                  2.11 ทรัพยากรชีวภาพ

                                                                  ี
                      พื้นที่ชุมน้ำนานาชาติอุทยานแหงชาติแกงกระจาน มความหลากหลายของพรรณพืช ดังนี้
                                                        
                        พรรณพืช
                        พบสังคมพืช เปนปาดิบเขา ปาดงดิบชื้น พบขึ้นอยูเปนบริเวณกวางในระดับความสูงประมาณ
                  400 เมตรจากระดับน้ำทะเลปานกลางขึ้นไป พันธุไมที่สำคัญไดแก กระลอขน ตะแบก เสลา มะคาโมง
                  เขมาสาย ยางโอน เสม็ดฟอง พญารากดำ มะกอกแบน นกนอย ผมหอม ตาเสือ เสม็ดเขา หนามขี้แรด
                  ชมพูปา ฯลฯ สวนพืชพื้นลางโดยทั่วไปเปนลูกไม กลาไม ของไมชั้นบน รวมทั้งไมเถา เชน เถากระไดลิง

                  เปนตน ปาดงดิบแลง พบขึ้นกระจายอยูทั่วพื้นที่ โดยเฉพาะตามที่ลุมริมฝงน้ำในหุบเขา ไหลเขา และท ่ ี
                  ราบต่ำระหวางภูเขา ที่ระดับความสูงประมาณ 400-500 เมตรเหนือระดับน้ำทะเลปานกลาง พันธุไมท ่ ี
                  สำคัญ ไดแก ดำดง สมอ จัน ขอยหนาม กระเบากลัก หมากเล็กหมากนอย ถอบแถบ ดีหมี กระเบากลัก
                  กระชิด หงอนไกดง ฯลฯ สวนพืชพื้นลางโดยทั่วไปเปนลูกไม กลาไม ของไมชั้นบน รวมทั้งไมเถา เชน

                  กำลังหนุมาน สะแกวัลย หวายลิง เปนตน ปาเบญจพรรณ พบขึ้นอยูทางตอนกลางและสวนเหนือของ
                  อุทยานแหงชาติ พันธุไมที่สำคัญ ไดแก ตีนนก แดง ตะคร้ำ มะกอก ประดู ตะแบก ออยชาง ตะโก
                                                                                             ั้
                  ตีนเปด งิ้วปา โมกมัน ติ้ว ฯลฯ สวนพืชพื้นลางโดยทั่วไปเปนลูกไม กลาไม ของไมชั้นบน รวมทงไผ หญาคา
                                                                                         ุ
                                                                ิ
                  หญาปลอง และไมเถา เปนตน ปาเต็งรัง พบขึ้นอยูทางทศเหนือและทิศตะวันออกของอทยานแหงชาติใน
                  ระดับความสูง 200-400 เมตรจากระดับน้ำทะเลปานกลาง พันธุไมที่สำคัญ ไดแก เต็ง พลวง พะยอม
                  ประดู ตะแบก เปลาหลวง แดง ฯลฯ สำหรับพืชพื้นลางประกอบดวย หญา ลูกไมของไมชั้นบน และไมเถา
                  เปนตน ปาละเมาะ และปารุนสองที่กำลังฟนตัวทุงหญาตนสูง ชายฝงริมอางเก็บน้ำและรอบเกาะแกงใน

                  อางเก็บน้ำ มีตนไม ตอไมถูกน้ำทวม เปนที่หลบซอนและวางไขของปลา พืชทองถิ่นที่พบไดในเขตนี้ เชน
                      
                    
                  ไมโอค (Oaks) กอ (Chestnut) หรือเมเปล (Maples) เชนเดียวกันกับปาลมและพืชที่ใหผลอื่น ๆ
                        พันธุสัตว
                        พบสัตวเลื้อยคลานอยางนอย 28 ชนิด พบสัตวสะเทินน้ำสะเทินบกอยางนอย 17 ชนิด พบนก
                  อยางนอย 408 ชนิด สำหรับนกที่บันทึกพบในพื้นที่อุทยานแหงนี้ประกอบไปดวยนกเงือก 6 ชนิด, ไกปา

                  (peacock-pheasant), นกแวนสีน้ำตาล (peacock-pheasant), นกกระสา(stork), นกอินทรียดำ
                  (black eagle), และนกหัวขวาน (woodpeckers) อีกหลายชนิดและนกปาอื่น ๆ อีกมากมาย ชนิดทอยู 
                                                                                                     ่
                                                                                                     ี
                  ในสถานภาพถูกคุกคามของโลก (globally threatened) ไดแก นกปากซอมพง (Gallinago nemoricola)
                                                                              
                  นกขมิ้นขาว (Oriolus mellianus) และนกจับแมลงอกสีน้ำตาลออน (Rhinomyias brunneata) ชนิดที่อยู 
                  ในสถานภาพใกลสูญพันธุอยางยิ่ง (critically endangered) ของประเทศไทย ไดแก นกกระสาคอขาว
                  (Ciconia episcopus) ซึ่งพบเฉพาะ ที่อุทยานแหงชาติแกงกระจานนี้และที่เขตรักษาพันธุสัตวปาเขา
                  อางไน จังหวัดฉะเชิงเทราเทานั้น และเหยี่ยวปลาใหญหัวเทา (Ichthyophaga ichthyaetus) ชนิดท ี่

                  อยูในสถานภาพใกลถูกคุกคาม (NT) ไดแก นกยางลายเสือ เปดคับแค เหยี่ยวกิ้งกาสีน้ำตาล นกจอกปา
                  หัวโต เหยี่ยวภูเขา เปนตน นอกจากนี้บริเวณลำธารกลางปาดงดิบ ยังพบนกพญาปากกวางถึง 6 ชนิด
                  จาก 7 ชนิด ที่พบในประเทศไทย พบสัตวเลื้อยคลานอยางนอย 28 ชนิด มีรองรอยและการพบเห็น
                  จระเขน้ำจืด ซึ่งอยูในสถานภาพใกลสูญพันธุอยางยิ่ง (CR) และมีรายงานพบปูเจา ซึ่งเปนชนิดพันธุ 

                  เฉพาะถิ่น พบสัตวเลี้ยงลูกดวยนมกวา 57 ชนิด สัตวเลี้ยงลูกดวยนมขนาดใหญก็พบไดเชนกัน เชน ชาง
                                                                                   
                  (Elephant), หมี (Bear), กวางแซมบา (sambar deer), วัวแดง (gaur), หมี(tiger), เสือดาว (leopard),
   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87