Page 105 - รายงานสำรวจทะเบียนรายชื่อพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับท้องถิ่น จังหวัดสกลนคร
P. 105

5-21





                                                                         
                                                   ิ
                                                                                          ี่
                  จังหวัดสกลนคร ในระบบสารสนเทศภูมศาสตร พื้นที่ชุมน้ำระดับทองถิ่นในบริเวณพื้นทจังหวัดสกลนคร
                          ี
                                                                                                  ี่
                                                                                               ื้
                                                               ิ
                  ป 2566 มเนื้อที่ 6,003,603 ไร หรือ 9,605.764 ตารางกโลเมตร ไดทำการตรวจสอบสถานภาพพนทชุมน้ำ
                  จากภาพถายทางอากาศรวมกับแผนที่สภาพภูมิประเทศเพื่อจัดทำฐานขอมูลในระบบสารสนเทศ
                                                                                ่
                  ภูมิศาสตร และสำรวจขอมูลภาคสนาม พบวา พื้นที่ชุมน้ำจังหวัดสกลนคร ทีสามารถระบุสถานภาพและ
                  พิกัดไดมีจำนวน 487 แหง จำแนกไดเปน คลอง/รอง/ลำหวย/หวย/ลำน้ำ จำนวน 429 แหง แมน้ำ
                  จำนวน 2 แหง บึง/หนอง จำนวน 49 แหง ทำนบ จำนวน 5 แหง และบอน้ำ/อางเก็บน้ำ จำนวน 2 แหง
                                                                    ี่
                  ซึ่งจังหวัดนสกลนครเปนจังหวัดที่ตั้งอยูบนฝงหนองหาร พื้นทสวนใหญจึงเปนที่ราบลุม ตนกำเนิดลำหวย
                                                                                                      ุ
                  สวนใหญมาจากภูพานดานทิศใต แบงเปน กลุมน้ำตามแนวลาด คือ กลุมน้ำที่มีแนวลาดเดียวกับน้ำพง
                  กลุมน้ำทีมีแนวลาดเดียวกับหวยเดียก กลุมน้ำที่มีแนวลาดเดียวกับหวยทราย และกลุมน้ำที่มีแนวลาดตอ
                  จากพื้นที่ชลประทานน้ำอนทีออมเชิงเขาภูพานผานที่ราบไหลลงหนองหาร ทั้งนี้ลำหวยที่มาจากภูพาน
                                       ู
                  มักมีปลายทางที่อยูรายเรียงใกลเคียงกัน สำหรับแนวลาดดานทิศเหนือ เปนเนินที่ไมลาดชันมากนัก
                                                          ี
                                                          ่
                  ตอเนื่องไปถึงลำน้ำโขงปลายทางของลำหวยทมาจากแนวลาดดานทิศเหนือจึงอยูคอนขางกระจัด
                                                                                        
                                                        ี
                  กระจาย และเอื้ออำนวยตอการเกษตรในพื้นท่ตาง ๆ เพื่อใหการบริหารจัดการพื้นที่ชุมน้ำสอดคลองกน
                                                                                                      ั
                  อยางเปนระบบ รัฐบบาลควรปรับปรุงมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน 2552 เรื่อง การทบทวน
                                                                                        ี
                  มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม 2553 เรื่องทะเบียนรายนามพื้นที่ชุมน้ำที่มความสำคัญระดบ
                                                                                                      ั
                  นานาชาติ และระดับชาติของประเทศไทยและมาตรการอนุรักษพื้นที่ชุมน้ำ เนื่องจากมีหนวยงาน
                  ปรับปรุงโครงสรางใหม  
                      5.5.2 ขอเสนอแนะ
                             1) ขอเสนอแนะดานนโยบาย รัฐควรกำหนดใหมีการจัดทำแผนแมบทการจัดการพื้นที่
                  ชุมน้ำและแผนปฏิบัติการพื้นที่ชุมน้ำเพื่อวางแผนจัดการพื้นที่ชุมน้ำทั้งประเทศ

                             2) ขอเสนอแนะดานองคกร รัฐควรมีการปรับปรุงโครงสรางการบริหารจัดการพื้นที ชุมน้ำ
                                                                                                 ่
                  การจัดตั้งองคกรจัดการพื้นที่ชุมน้ำในระดับจังหวัด โดยทำงานประสานกับคณะกรรมการ ลุมน้ำประจำ
                                                                                              ี
                  จังหวัด เพื่อทำหนาที่รับนโยบายจากสวนกลาง และสวนในระดับทองถิ่นควรมการจัดตั้ง
                  คณะอนุกรรมการจัดการพื้นที่ชุมน้ำเฉพาะพื้นที่ชุมน้ำในพื้นที่ชุมน้ำในระดับทองถิ่น หรือคณะกรรมการ

                  พื้นที่ชุมน้ำชุมชน เปนตน
                             3) ขอเสนอแนะดานกฎหมาย รัฐควรออกกฎหมายลำดับรองหรือขอบัญญัติทองถิ่น
                  เพื่อการอนุรักษและการใชประโยชนพื้นที่ชุมน้ำโดยอาศัยหลักการตามอนุสัญญาวาดวยพื้นที่ชุมน้ำ

                             4) ขอเสนอแนะดานการมีสวนรวมของประชาชน รัฐควรสรางกลไกการบริหาร จัดการ
                  พื้นที่ชุมน้ำโดยอาศัยการมีสวนรวมของชุมชน ในการวางแผนจัดการและการติดตามตรวจสอบการ
                  เปลี่ยนแปลงของพื้นที่ชุมน้ำ
                             5) สนับสนุนใหภาคสวนที่เกี่ยวของดำเนินการจัดทำแผนการจัดการพื้นที่ชุมน้ำ ที่ม ี
                                                                                                 ี่
                                                                                                     
                                                                                               ี่
                  ความสำคัญระดับนานาชาติ ระดับชาติ และ/หรือแรมซารไซต พรอมทั้งผลักดันใหหนวยงานทเกยวของ
                  นำแผนไปผสานสอดแทรกเขาสูนโยบายและแผนในระดับจังหวัด ทองถิ่น และชุมชน
                             6) การอนุรักษทรัพยากรและความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ชุมน้ำ และการวางแผน
                  ในการจัดการพื้นที่ชุมน้ำโดยการมีสวนรวมของชุมชนทองถิ่น เขตหามลาสัตวปา เขตรักษาพันธุสัตวปา

                                                    ื้
                                                                                         
                  และอุทยานแหงชาติ ที่มีพื้นที่ชุมน้ำอยูในพนที่ รับผิดชอบ ไดจัดกิจกรรมการใหความรูแกเยาวชน มีการจัด
   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110