Page 42 - รายงานสำรวจทะเบียนรายชื่อพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับท้องถิ่น จังหวัดปทุมธานี
P. 42

3-16





                                                                                             ื้
                              (2) ใหมีการสำรวจและตรวจสอบขอบเขตพนที่ชุมน้ำตามทะเบียนรายนามพนทชุมน้ำทีม ี
                                                                                               ี่
                                                                                                      ่
                                                                   ื้
                  ความสำคัญระดับทองถิ่นที่คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบ เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2543 เพื่อเปนแหลง
                  รับน้ำตามธรรมชาติโดยเปนพื้นที่กักเก็บและชะลอการไหลของน้ำ เพื่อปองกันน้ำทวมและภัยแลง
                                                                                                  ื้
                                                                          ี่
                                                                       ื้
                                                                                                    ี่
                              (3) ใหมีการติดตาม ตรวจสอบและดำรงรักษาพนทชุมน้ำตามทะเบียนรายนามพนทชุม
                  น้ำที่มีความสำคัญระดับทองถิ่น เพื่อสงวนไวเปนแหลงรองรับน้ำตามธรรมชาติโดยเฉพาะอยางยิ่งพื้นท ี ่
                                                                                         ั
                  ชุมน้ำที่ไดรับการขึ้นทะเบียนเปนแหลงน้ำสาธารณประโยชน ตลอดจนควบคมและปองกนการบุกรุกเขาใช
                                                                               ุ
                  ประโยชนที่จะสงผลกระทบตอพื้นที่ชุมน้ำที่เปนพื้นที่สาธารณประโยชน
                                                                                 
                              (4) ใหสรางจิตสำนึกและปลูกฝงความรู ความเขาใจในคุณคาและความสำคัญ และการ
                  ใชประโยชนพื้นที่ชุมน้ำอยางยั่งยืนแกทุกภาคสวนและประชาชนทุกระดับ และใหชุมชนมีสวนรวม
                  ในการวางแผนการจัดการพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระดับนานาชาติและระดับชาติ

                                                                ั
                              (5) ใหนำเสนอพื้นที่ชุมน้ำทมีความสำคญระดับนานาชาติและระดับชาติเปนพนทชุมน้ำ
                                                                                               ื้
                                                      ี่
                                                                                                  ี่
                  ที่มีความสำคัญระหวางประเทศ ภายใตอนุสัญญาวาดวยพื้นที่ชุมน้ำ (Ramsar Convention)
                              (6) ประกาศใหพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระดับนานาชาติและระดับชาติ เปนเขตหาม
                  ลาสัตวปา หรือพื้นที่คุมครองสิ่งแวดลอม หรือพื้นที่อนุรักษในลักษณะอื่น

                              (7) เรงรัดใหออกหนังสือสำคัญที่หลวงในกรณีที่พื้นที่ชุมน้ำมีความสำคัญระดบ
                                                                                                      ั
                  นานาชาติและระดับชาติเปนที่สาธารณประโยชน และเรงใหดำเนินการจัดทำแนวเขตที่ชัดเจนเพอ
                                                                                                      ื
                                                                                                      ่
                  ปองกันปญหาการบุกรุกโดยไมใหเกิดผลกระทบตอระบบนิเวศของพื้นที่ชุมน้ำ
                                                                           ั
                                                                  ี่
                                                         ื้
                              (8) ใหมีการฟนฟูระบบนิเวศพนที่ชุมน้ำทมีความสำคญระดับนานาชาติและระดับชาติท ี่
                  เสื่อมโทรมและตองการการปรับปรุงโดยดวน เพื่อใหพื้นที่ชุมน้ำนั้นสามารถดำรงบทบาทหนาที่ทาง
                  นิเวศวิทยาและอุทกวิทยาไดตามธรรมชาติ
                              (9) ใหมีการจัดทำแผนการจัดการพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระดับนานาชาติและ

                  ระดับชาติ ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว เพื่อคุมครอง ฟนฟูพื้นที่ชุมน้ำ โดยมีการแบงเขตการใชประโยชน
                  พื้นที่เปนเขตอนุรักษและเขตพัฒนา พรอมทั้งกำหนดแนวเขตกันชนพื้นที่ ตลอดจนกำหนดกิจกรรมท ่ ี

                  สามารถกระทำไดและหามกระทำในพื้นท  ี่
                              (10)  ใหมีจัดทำรายงานวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม (EIA) สำหรับโครงการ

                  หรือกิจกรรมที่มีผลกระทบตอสิ่งแวดลอมตามประกาศที่ออกตามมาตรา 46 แหง พรบ.สงเสริมและรักษา
                  คุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2535
                              (11)  ใหมีการศึกษาวิจัยระบบนิเวศพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระดับนานาชาติและ

                  ระดับชาติและเผยแพรขอมูลแกสาธารณชนอยางตอเนื่อง
                                                                                                     ั
                              (12)  ติดตามตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงในระบบนิเวศพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคญ
                  ระดับนานาชาติและระดับชาติอยางตอเนื่อง โดยมีการกำหนดปจจัยหรือดัชนีชี้วัดที่ชัดเจน
                                                                                                      ่
                                                                                                      ื
                                              ึ
                                                        ื้
                              (13)  ใหมีการศกษาสำรวจพนที่ชุมน้ำและความหลากหลายทางชีวภาพอยางตอเนื่องเพอ
                  ปรับปรุงและแกไขเพิ่มเติมทะเบียนพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระดับนานาชาติและระดับชาติตามเกณฑ  
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47