Page 39 - รายงานสำรวจทะเบียนรายชื่อพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับท้องถิ่น จังหวัดนนทบุรี
P. 39

3-17





                                                           ั
                                                 ุ
                              (14)  ใหมีการควบคมและปองกนมลพษจากแหลงกำเนิดประเภทตาง ๆ ไดแก ชุมชน
                                                                ิ
                  อุตสาหกรรม เกษตรกรรมและกิจกรรมอื่น ๆ
                            (15)  ใหมีการควบคุมปองกันไฟปาในพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระดับนานาชาติและ

                  ระดับชาติที่อาจเกิดจากชุมชน หรือเกิดจากกิจกรรมอื่น ๆ โดยมีมาตรการดังนี้
                                  1. มาตรการปองกันไฟปา

                                      - ใหดำเนินการควบคุมระดับน้ำของปาชุมน้ำใหคงที่
                                      - ทำแนวกนไฟเปยก (wet-line firebreak) ตามแนวพระราชดำริ
                                                   ั
                                      - ประชาสัมพันธเชิงรุกทุกรูปแบบ เพื่อสรางจิตสำนึกและความเขาใจกบ
                                                                                                      ั
                  ชุมชนถึงอันตรายจากไฟปา เปนผลใหชุมชนยุติการจุดไฟเผาปา
                                  2. มาตรการดับไฟปา

                                                                        ่
                                                                        ื
                                      - จัดตั้งสถานีควบคุมไฟปาพื้นที่ เพอทำหนาที่กำกับ ดูแลและดำเนินการ
                  ควบคุมไฟปาในพื้นที่ชุมน้ำที่สำคัญ
                                      - ฝกอบรมเจาหนาที่ปาไมใหปฏิบัติงานดับไฟปาในพื้นที่ชุมน้ำ
                                      - ใชเครื่องมือ อุปกรณดับไฟปาใหทันสมัยและเหมาะสมกับสภาพพื้นที่ท ี ่

                  เปนพื้นที่ชุมน้ำ
                            (16)  ใหมีการศึกษาและจัดทำแผนกายภาพ ออกแบบภูมิทัศนบริเวณโดยรอบและใน

                  บริเวณใกลเคียงพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระดับนานาชาติและระดับชาติทั้งในระยะสั้นและระยะยาว
                  เพื่ออนุรักษและฟนฟูพื้นที่ดังกลาวทั้งระบบ
                            (17)  ใหจัดทำรายงานการประเมินผลการปฏิบัติงานตามมาตรการอนุรักษพื้นที่ชุมน้ำ

                                                                                                    ื้
                                        ิ
                  จากมตคณะรัฐมนตรี โดยตดตามตรวจสอบจากหนวยงานหลักเสนอตอคณะอนุกรรมการการจัดการพนท      ี่
                        ิ
                  ชุมน้ำเปนประจำ
                  3.4  การดำเนินงานพื้นที่ชุมน้ำ


                      ตั้งแต พ.ศ. 2536 คณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติไดจัดตั้งคณะอนุกรรมการการจัดการ
                  พื้นที่ชุมน้ำขึ้น โดยมีสำนักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดลอมรับผิดชอบเปนฝายเลขานุการ

                  คณะอนุกรรมการการจัดการพื้นที่ชุมน้ำ ตอมามีการปรับปรุงใหมเมื่อวันที่ 18 มีนาคม พ.ศ. 2558 มีรองปลัด
                  กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมกลุมภารกิจที่เกี่ยวของเปนประธาน มีอำนาจหนาที่ดังนี้

                        1) เสนอกฎระเบียบ นโยบายและแผนแหงชาติ ตลอดจนแนวทางสำหรับการจัดการและ
                  คุมครองพื้นที่ชุมน้ำของประเทศไทย เพื่อการใชประโยชน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน

                        2)  สนับสนุนและสงเสริมการดำเนินงานในพื้นที่ชุมน้ำ ใหเปนไปตามกฎระเบียบนโยบายแหงชาติ
                  และแนวทางอยางมประสิทธิผล
                                  ี
                        3) สนับสนุน กำกับดูแล ติดตามตรวจสอบการดำเนินงานตามพันธกรณี ของอนุสัญญาวาดวย
                  พื้นที่ชุมน้ำ และความตกลงระหวางประเทศที่เกี่ยวของ
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44