Page 88 - Lower Songkhram River Basin
P. 88

3-10





                             การทำเกษตรกรรมและวิสาหกิจชุมชน

                             1) พืชเศรษฐกิจที่สำคัญ คือ ขาว ยางพารา ปาลมน้ำมัน ยูคาลิปตัส และสับปะรด
                  โดยพืชเศรษฐกิจหลักที่สำคัญ 3 อันดับแรก คือ
                                (1) ขาว ขาวเปนพืชเศรษฐกิจหลักที่สำคัญอันดับแรก โดยจังหวัดนครพนมจะปลูก

                  ขาวเจาเปนหลัก พันธุที่เกษตรสวนใหญปลูก ไดแก ขาวเจาหอมมะลิ ขาวขาวดอกมะลิ 105 และขาวเจาอื่น ๆ
                  โดยฤดูกาลเก็บเกี่ยวผลผลิตขาวเจานาปจะเริ่มตั้งแตเดือนตุลาคมถึงเดือนพฤศจิกายน ผลผลิตออกสู
                  ตลาดมากที่สุดในเดือนพฤศจิกายน ในสวนของจังหวัดสกลนครจะปลูกขาวเหนียวเปนหลัก พันธุที่เกษตรกร
                  สวนใหญปลูก ไดแก ขาวพันธุ กข6 และพันธุพื้นเมือง โดยฤดูกาลเก็บเกี่ยวผลผลิตขาวเหนียวนาป

                  จะเริ่มตั้งแตเดือนตุลาคมถึงเดือนธันวาคม โดยผลผลิตออกสูตลาดมากที่สุดในเดือนพฤศจิกายน
                  การจำหนายขาวจังหวัดนครพนม และจังหวัดสกลนคร เกษตรกรจะจำหนายผลผลิตใหกับผูรับซื้อแหลงตาง ๆ
                  ไดแก สถาบันการเกษตร พอคารวบรวมทองถิ่น ทาขาว โรงสีในจังหวัด ทั้งนี้สหกรณการเกษตรและทาขาว
                  เมื่อรับผลผลิตจากเกษตรกรแลวบางสวนจะจำหนายใหกับโรงสีในจังหวัดและบางสวนจะสงออกไป

                  นอกจังหวัด
                                   สถานการณการผลิตขาวนาป ระหวางป 2560-2564 พบวา เนื้อที่เก็บเกี่ยว มีอัตรา
                  การเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นรอยละ 11.22 โดยป 2560 มีเนื้อที่เก็บเกี่ยว 297,707 ไร ในป 2564 มีเนื้อที่เก็บเกี่ยว
                  374,769 ไร สงผลใหปริมาณผลผลิตเพิ่มขึ้นรอยละ 10.68 ตอป โดยป 2560 มีผลผลิต 120,274 ตัน

                  ในป 2564 มีผลผลิต 144,661 ตัน (ตารางที่ 3-8 และรูปที่ 3-6 - รูปที่ 3-7)
                                   สถานการณการผลิตขาวนาปรัง ระหวางป 2560-2564 พบวา เนื้อที่เก็บเกี่ยว มีอัตรา
                  การเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นรอยละ 3.93 โดยป 2560 มีเนื้อที่เก็บเกี่ยว 51,425 ไร ในป 2564 มีเนื้อที่เก็บเกี่ยว
                  51,699 ไร สงผลใหปริมาณผลผลิตเพิ่มขึ้นรอยละ 7.54 ตอป โดยป 2560 มีผลผลิต 23,707 ตัน

                  ในป 2564 มีผลผลิต 30,296 ตัน (ตารางที่ 3-9 และรูปที่ 3-8 - รูปที่ 3-9)

                                (2) ยางพารา ยางพาราเปนพืชเศรษฐกิจที่สำคัญเปนอันดับสองรองจากขาว สวนใหญ
                  ผลิตเปนยางกอนถวย ซึ่งผลผลิตจะออกสูตลาดมากเริ่มตั้งแตเดือนมิถุนายนถึงเดือนธันวาคม เนื่องจาก
                  สภาพอากาศเย็น ทำใหมีปริมาณน้ำยางมาก สำหรับชวงที่เกษตรกรหยุดกรีดยางเริ่มประมาณเดือน

                  มีนาคมถึงเดือนพฤษภาคม เนื่องจากมีสภาพอากาศรอนและแลง ทำใหผลผลิตออกสูตลาดนอย เมื่อเขาสู
                  ฤดูฝนในเดือนมิถุนายนจึงจะเปดกรีดยางอีกครั้ง เกษตรกรจะจำหนายผลผลิตใหกับสหกรณกองทุนสวนยาง
                  พอคาผูรวบรวมโดยวิธีการประมูลและโรงงานแปรรูปการยางแหงประเทศไทย
                                   สถานการณการผลิตยางพารา ระหวางป 2560-2564 พบวา ในป 2560 มีเนื้อที่เก็บเกี่ยว
                  120,472 ไร ในป 2564 มีเนื้อที่เก็บเกี่ยว 119,045 ไร อยางไรก็ตามโดยภาพรวม 5 ป มีอัตรา

                  การเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นรอยละ 5.27 ตอป ในสวนของผลผลิต ป 2560 มีผลผลิต 26,263 ตัน
                  ในป 2564 มีผลผลิต 26,190 ตัน อยางไรก็ตามโดยภาพรวม 5 ป ปริมาณผลผลิตเพิ่มขึ้นรอยละ 5.46 ตอป
                  (ตารางที่ 3-10 และรูปที่ 3-10 - รูปที่ 3-11)
   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93