Page 34 - Lower Songkhram River Basin
P. 34

2-18





                                 5) การจัดการน้ำที่เหมาะสมจัดหาแหลงน้ำใหพอเพียงกับการเพาะปลูก และมีการใหน้ำ

                  อยางมีประสิทธิภาพ เชน ใหน้ำโดยใชระบบน้ำหยด และใชวัสดุคลุมดินเพื่อปองกันการระเหยของน้ำ
                  และเก็บรักษาความชื้นในดิน
                                 6) พื้นที่ที่มีความลาดชันควรมีมาตรการอนุรักษดินและน้ำ ไถพรวน และปลูกพืช

                  ตามแนวระดับขวางความลาดเทของพื้นที่ ปลูกพืชคลุมดิน โดยปลูกสลับกับแถวพืชหลักที่ปลูกไวเพื่อ
                  ลดการชะลางพังทลายของดินหรือปลูกหญาแฝก เปนตน
                                 7) ดินตื้นที่มีปฏิกิริยาดินเปนดาง การปลูกพืชในดินประเภทนี้ อาจมีปญหาการขาด
                  ธาตุอาหารบางชนิด เชน ฟอสฟอรัส เหล็ก และแมงกานีส ดังนั้น การปลูกพืชในดินดังกลาว จึงควรเลือก

                  ชนิดพืชที่เหมาะสมพืชที่ชอบสภาพดินกรด เชน ขาวโพด ถั่วลิสง ไมผลบางชนิด เชน ขนุน นอยหนา
                  และมะพราว เปนตน
                             2. ดินทรายจัด หมายถึง ดินที่มีอนุภาคขนาดทรายอยูมากกวารอยละ 85 เนื้อดินเปนดินทราย
                  หรือดินทรายปนดินรวน มีความหนาของชั้นที่เปนดินทรายลึกจากผิวดินอยางนอย 50 เซนติเมตร

                  เกิดจากการทับถมของตะกอนเนื้อหยาบหรือตะกอนชายฝงทะเล โครงสรางมีลักษณะเปนเม็ดเดี่ยว ๆ
                  อนุภาคของดินมีการเกาะตัวกันอยางหลวมๆ หรือมีการยึดตัวของเม็ดดินต่ำ เปนสาเหตุทำใหเกิด
                  การชะลางพังทลายของดิน บางพื้นที่ดินแนนทึบเนื่องจากเนื้อดินเปนทรายละเอียดทำใหเปนอุปสรรค
                  ตอการเจริญเติบโตของรากพืช การระบายน้ำดีเกินไป ทำใหเกิดปญหาการขาดแคลนน้ำ ความสามารถ

                  ในการอุมน้ำและดูดซับธาตุอาหารต่ำ ความอุดมสมบูรณของดินต่ำ พบไดทั้งพื้นที่ลุมและพื้นที่ดอน
                  ซึ่งในพื้นที่ศึกษาพื้นที่ชุมน้ำแมน้ำสงครามตอนลาง มีพื้นที่ที่เปนดินทรายจัด 19,877 ไร หรือรอยละ 3.51
                  ของพื้นที่ศึกษาพื้นที่ชุมน้ำแมน้ำสงครามตอนลาง สามารถจำแนกดินทรายจัด ไดเปน 3 ประเภท ดังนี้
                               2.1 ดินทรายจัดในพื้นที่ดอน มีเนื้อที่ 6,231 ไร หรือรอยละ 1.10 ของพื้นที่ศึกษา

                  พื้นที่ชุมน้ำแมน้ำสงครามตอนลาง พบในสภาพพื้นที่ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ เปนดินทรายลึกมาก
                  มีการระบายน้ำดีถึงดีเกินไป ดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติต่ำ พบตามบริเวณหาดทราย
                  สันทรายชายทะเล ซึ่งมีหินพื้นเปนหินเนื้อหยาบ สวนใหญเปนพื้นที่ปาชายเลน บางแหงใชปลูกปาลมน้ำมัน
                               2.2 ดินทรายจัดในพื้นที่ลุม มีเนื้อที่ 13,646 ไร หรือรอยละ 2.41 ของพื้นที่ศึกษา

                  พื้นที่ชุมน้ำแมน้ำสงครามตอนลาง พบในสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ เปนดินที่พบ
                  ตามบริเวณที่ลุม หรือพื้นที่ราบเรียบที่อยูใกลภูเขาหินทรายเนื้อหยาบ เปนกลุมดินทรายลึกมาก
                  การระบายน้ำเลวหรือคอนขางเลว ทำใหดินแฉะหรือมีน้ำขังเปนระยะเวลาสั้นๆ โดยเฉพาะเวลาที่มีฝนตกหนัก

                  บางแหงใชทำนา บางแหงยกรองเพื่อปลูกไมยืนตน
                               แนวทางในการจัดการ
                                  1) ควรเลือกชนิดพืชที่มีศักยภาพเหมาะสมมาปลูกในบริเวณดังกลาว มีการปรับปรุง
                  บำรุงดินรวมกับมีระบบการอนุรักษดินและน้ำ เชน ในกรณีที่ปลูกขาว ควรไถกลบตอซัง ปลอยทิ้งไว
                  3-4 สัปดาห หรือไถกลบพืชปุยสด (โสนอัฟริกัน หรือโสนอินเดีย 4-6 กิโลกรัมตอไร ไถกลบเมื่ออายุ

                  50-70 วัน ปลอยไว 1-2 สัปดาห) รวมกับการใชปุยอินทรียน้ำหรือปุยเคมีสูตร 16-16-8 ใสปุยแตงหนา
                  หลังปกดำ 35-45 วัน นอกจากนี้ควรพัฒนาแหลงน้ำไวใชในชวงที่ขาวขาดแคลนน้ำ หรือใชปลูกขาว
                  ครั้งที่ 2 หรือปลูกพืชไร พืชผัก หรือพืชตระกูลถั่วหลังการเก็บเกี่ยวขาว โดยทำรองแบบเตี้ย ปรับปรุงดิน

                  ดวยปุยหมักหรือปุยคอก 2-3 ตันตอไร รวมกับปุยเคมีหรือปุยอินทรียน้ำ
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39