Page 33 - Lower Songkhram River Basin
P. 33

2-17





                        2.5.2 สถานภาพทรัพยากรดิน

                            จากการวิเคราะหสถานภาพทรัพยากรดินรวมกับลักษณะและสมบัติของดินที่มีผลตอ
                  การใชประโยชนทางการเกษตรในพื้นที่ศึกษาพื้นที่ชุมน้ำแมน้ำสงครามตอนลาง พบสภาพทรัพยากรดิน
                  ที่มีปญหาตอการทำการเกษตรดังนี้ (ตารางที่ 2-6 และรูปที่ 2-7)

                             1. ดินตื้น มีเนื้อที่ 83,472 ไร หรือรอยละ 14.72 ของพื้นที่ศึกษาพื้นที่ชุมน้ำแมน้ำสงคราม
                  ตอนลาง เกิดมาจากวัตถุตนกำเนิดดิน เชน หินดินดานเชิงเขา หรือเศษหินเชิงเขา ที่สวนใหญเปนพวกหินตะกอน
                  เนื้อหยาบ คือ หินทราย หินกรวดมน แตกกระจัดกระจายรวงหลนออกมาทับถมเกะกะอยูบริเวณเชิงเขา
                  หรือเปนผลจากกระบวนการทางดินที่ทำใหเกิดการสะสมปูนมารลหรือศิลาแลงในดิน เปนดินที่มีลูกรัง

                  กอนกรวดหรือเศษหินปะปนอยูในเนื้อดินมาก ความหนาของชั้นดินบนนอยกวา 50 เซนติเมตรจากผิวดิน
                  ทำใหเปนอุปสรรคตอการชอนไชของรากพืชและการไถพรวน มีเนื้อดินเหนียวนอย ทำใหการเกาะยึดตัว
                  ของเม็ดดินไมดีเกิดการชะลางพังทลายไดงาย โดยทั่วไปมีความอุดมสมบูรณต่ำ ความสามารถในการดูด
                  ซับน้ำและธาตุอาหารต่ำ ประเภทของดินตื้นที่พบในพื้นที่ศึกษาพื้นที่ชุมน้ำแมน้ำสงครามตอนลาง ไดแก

                               1.1 ดินตื้นในพื้นที่ดอนถึงชั้นลูกรัง กอนกรวด หรือเศษหิน มีเนื้อที่ 80,548 ไร
                  หรือรอยละ 14.21 ของพื้นที่ศึกษาพื้นที่ชุมน้ำแมน้ำสงครามตอนลาง เปนดินตื้น มีการระบายน้ำดี
                  พบในสภาพพื้นที่ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบไปจนถึงลูกคลื่นลอนชัน มักจะมีลูกรังหรือหินกรวดมน
                  ปะปนอยูมากตั้งแตบริเวณผิวดินลงไป บางแหงมีกอนลูกรังหรือศิลาแลงโผลกระจัดกระจายทั่วไปบริเวณ

                  ผิวหนาดิน เนื้อดินบนเปนดินรวนปนดินเหนียวปนกรวด ดินรวนปนทรายปนกรวด เนื้อดินลางเปน
                  ดินรวนปนดินเหนียวปนกรวดมาก ดินรวนปนทรายปนกรวดมาก ดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติต่ำ
                  ถึงปานกลาง
                               1.2 ดินตื้นในพื้นที่ลุมถึงชั้นลูกรัง หรือกอนกรวด มีเนื้อที่ 2,924 ไร หรือรอยละ

                  0.51 ของพื้นที่ศึกษาพื้นที่ชุมน้ำแมน้ำสงครามตอนลาง เปนดินตื้นที่มีการระบายน้ำเลว พบในพื้นที่ลุมต่ำ
                  จึงมักจะมีน้ำแชขังในชวงฤดูฝน สวนใหญมีกรวดลูกรังปนอยูในดินมาก อาจพบชั้นศิลาแลงออนในดินชั้นลาง
                  บางแหงใชในการทำนา หรือเปนพื้นที่ปาละเมาะ
                                แนวทางในการจัดการ

                                 1) เลือกพื้นที่ทำการเกษตรที่มีหนาดิน ไมนอยกวา 25 เซนติเมตรและไมมีกอนกรวด
                  หรือลูกรังกระจัดกระจายอยูที่ผิวดินมากนัก สวนพื้นที่ที่เปนดินตื้นมาก และมีเศษชิ้นสวนกอนกรวดหิน
                  เนื้อหยาบปะปนอยูหนาผิวดินจำนวนมากไมเหมาะสมสำหรับการปลูกพืชเศรษฐกิจ ควรใชปลูกไมยืนตน

                  โตเร็ว
                                 2) เลือกชนิดพืชปลูกและมีการจัดการที่เหมาะสม หากเปนพืชไรควรเลือกพืชที่มี
                  ระบบรากตื้น พืชทนแลงหรือปลูกพืชแบบผสมผสาน สำหรับการปลูกไมผล ไมยืนตน ควรมีการจัดการ
                  เฉพาะหลุม ขุดหลุมปลูกใหกวางกวาดินธรรมดา รองกนหลุมดวยดินจากที่อื่นผสมกับปุยคอกหรือปุยหมัก
                                 3) มีการเขตกรรมที่เหมาะสม ไถพรวนดินใหนอยที่สุดเพื่อปองกันการชะลาง

                  พังทลายของดิน
                                 4) เพิ่มความอุดมสมบูรณของดินโดยใชปุยอินทรีย ไดแก ปุยหมัก ปุยคอก
                  หรือปลูกพืชตระกูลถั่วแลวไถกลบเพื่อเพิ่มความสามารถในการดูดซับธาตุอาหารและน้ำใหแกดินและ

                  ใชปุยเคมีรวมดวยตามความเหมาะสมกับชนิดพืชที่ปลูก
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38