Page 32 - Phetchaburi-Prachuap Khirikhan Basin
P. 32

2-18





                  ที่อาจมีผลกระทบทางสิ่งแวดลอม จากการเปลี่ยนแปลง การใชที่ดินไดงายและรุนแรง ควรจะตองสงวน

                  รักษาไวเพื่อเปนพื้นที่ตนน้ำลำธาร
                        พื้นที่ชั้นคุณภาพลุมน้ำที่สอง เปนพื้นที่ที่เหมาะสมตอการเปนตนน้ำลำธารรองลงมา มักเปนภูเขาสูง
                  สันเขามน ไหลเขาที่มีแนวลาดเทปานกลาง ความลาดชันอยูระหวาง 30-50 เปอรเซ็นต ดินงายตอ

                  การชะลางพังทลาย ความอุดมสมบูรณต่ำ สามารถนำมาใชประโยชนเพื่อกิจการที่สำคัญเชน การทำไม
                  และเหมืองแรได แตตองปฏิบัติตามมาตรการควบคุมอยางเขมงวดรัดกุม พื้นที่ชั้นคุณภาพลุมน้ำที่สาม
                  มักมีลักษณะเปนที่ลาดเขา ตีนเขา ที่ราบขั้นบันไดสลับเนินเขา และพื้นที่ริมรองน้ำ มีความลาดชัน
                  อยูระหวาง 25-35 เปอรเซ็นต ดินพังทลายงายถึงปานกลาง สามารถนำมาใชประโยชนทางการกสิกรรม

                  ประเภทไมยืนตนได แตตองใชมาตรการอนุรักษดินและน้ำที่เขมงวด เชน การทำขั้นบันไดดิน เปนตน
                        พื้นที่ชั้นคุณภาพลุมน้ำที่สี่ เปนพื้นที่เชิงเขา เนินเขาเตี้ย ที่ราบขั้นบันได พื้นที่สองฝงลำน้ำ
                  มีความลาดชันอยูระหวาง 6-25 เปอรเซ็นต ดินคอนขางลึก ความอุดมสมบูรณคอนขางสูง
                  และมีสมรรถนะการพังทลายต่ำ สามารถนำมาใชประโยชนในกิจการพืชไร ที่ตองมีมาตรการอนุรักรักษ

                  ดินและน้ำพอสมควร


























                  รูปที่ 2-5 มโนทัศนของลักษณะชั้นคุณภาพลุมน้ำตาง ๆ ลุมน้ำที่สำคัญของประเทศไทย

                  ที่มา : เกษม (2560)
                        พื้นที่ชั้นคุณภาพลุมน้ำที่หา เปนพื้นที่ราบลุม หรือเนินลาดเอียงเล็กนอย ต่ำกวา 5 เปอรเซ็นตดินลึก
                  ถึงลึกมาก ความอุดมสมบูรณสูง มีความคงทนตอการชะลางพังทลาย สามารถใชประโยชน

                  เพื่อการเกษตรกรรม โดยเฉพาะการทำนา และกิจกรรมอื่น ๆ

                        ประโยชนที่ไดรับจากโครงการศึกษาเพื่อการกำหนดชั้นคุณภาพลุมน้ำที่สำคัญของประเทศไทย คือ
                            1) แผนแมบทของการวางแผนการใชที่ดินในพื้นที่ลุมน้ำตาง ๆ ทั่วประเทศ

                            2) มาตรการควบคุมการใชที่ดินในเขตพื้นที่ลุมน้ำ
                            3) แนวทางในการใชประโยชนทรัพยากรภายในพื้นที่ลุมน้ำที่ถูกตองเหมาะสม

                            มาตรการการใชที่ดินในเขตลุมน้ำ สรุปไดดังนี้





                                                                         กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37