Page 31 - Phetchaburi-Prachuap Khirikhan Basin
P. 31

2-17





                            7) กลุมลุมน้ำภาคใตฝงตะวันออก (ฝงอาวไทย) มีพื้นที่ลุมน้ำรวม 52,210.01 ตารางกิโลเมตร

                  มีพื้นที่ รอยละ 10.12 ของประเทศ รายชื่อลุมน้ำหลักมีดังนี้ ลุมน้ำภาคใตฝงตะวันออกตอนบน
                  ภาคใตฝงตะวันออกตอนบน (เกาะ) ลุมน้ำทะเลสาบสงขลา ลุมน้ำทะเลสาบสงขลา (เกาะ) ลุมน้ำภาคใต
                  ฝงตะวันออกตอนลา รวมมีลุมน้ำสาขาจำนวน 26 ลำน้ำ

                            8) กลุมลุมน้ำชายฝงทะเลอาวไทยตะวันตก (ฝงอันดามัน) มีพื้นที่ลุมน้ำรวม 19,732.99
                  ตารางกิโลเมตร พื้นที่ รอยละ 3.82 ของประเทศ รายชื่อลุมน้ำหลักมีดังนี้ ภาคใตฝงตะวันตก
                  ภาคใตฝงตะวันตก (เกาะ) มีลุมน้ำสาขาจำนวน 13 ลำน้ำ ประเทศไทยมีพื้นที่ลุมน้ำรวม 515,934.08
                  ตารางกิโลเมตร ใน 22 ลุมน้ำหลัก (แมน้ำ) และ มีลุมน้ำสาขา (ลำน้ำ) จำนวน 353 ลำน้ำ

                  2.4 การกำหนดชั้นคุณภาพลุมน้ำ

                        การกำหนดชั้นคุณภาพลุมน้ำ เปนการแบงเขตพื้นที่ลุมน้ำโดยมุงเนนที่คุณสมบัติของพื้นที่ตอการ
                  พังทลายของดิน และความเปราะบางทางสิ่งแวดลอมเปนหลักปฏิบัติในการกำหนดขอบเขต พื้นที่ใด
                  ที่มีดินและสิ่งแวดลอมเปราะบางงายตอการชะลางพังทลายจะตองเก็บรักษาไวเปนแหลงตนน้ำลำธาร

                  สวนพื้นที่ใดมีความคงทนตอการพังทลายของดินก็สามารถนำไปใชในกิจกรรมอื่น ๆ ที่เหมาะสม
                  ตามลำดับตอไป การกำหนดชั้นคุณภาพลุมน้ำกระทำโดยการใชความสัมพันธของตัวแปรทางกายภาพตาง ๆ
                  ที่มีอิทธิพลตอการชะลางพังทลายของพื้นที่ เปนตัวแปรที่เกิดการเปลี่ยนแปลงไดยาก และเปนอิสระ

                  ซึ่งกันและกัน ซึ่งไดทั้งหมด 5 ตัวแปร คือ ความลาดชัน (SLOPE) ความสูงของพื้นที่ (ELEV)
                  ลักษณะแผนดิน (LANDF) ลักษณะทางธรณีวิทยา (GEOL) และชนิดดิน (SOIL) ซึ่งตัวแปรทั้งหมด
                  จะนำมามาสรางความสัมพันธกับคาชั้นคุณภาพลุมน้ำ (WSC) ในรูปแบบของสมการสหสัมพันธมาตรฐาน
                  เพื่อการกำหนดชั้นคุณภาพลุมน้ำของประเทศไทยดังนี้ (เกษม, 2560)

                          WSC = a + b(SLOPE) + c(ELEV) + d(LANDF) + e(GEOL) + f(SOIL) + FOR + MIN

                                  เมื่อ WSC คือ คาชั้นคุณภาพลุมน้ำ

                                  SLOPE คือ ความลาดชันเฉลี่ย (คาที่อานไดใน 1 ตารางกิโลเมตร หรือใน 1 กริด)

                                   ELEV คือ ความสูง (คาเฉลี่ยความสูงจากระดับน้ำทะเล/10 ใน 1 ตารางกิโลเมตร)

                                   LANDF คือ ลักษณะแผนดิน (คาคะแนนของลักษณะแผนดิน ใน 1 ตารางกิโลเมตร)

                                   GEOL คือ ลักษณะทางธรณีวิทยา (คาคะแนนทางธรณีวิทยาใน 1 ตารางกิโลเมตร)

                                  SOIL คือ ชนิดดิน (คาคะแนนสมบัติของชนิดดินใน 1 ตารางกิโลเมตร)

                                  a, b, c, d, e และ f คือ คาคงที่ของตัวแปร

                        นอกจากนี้ยังไดนำตัวแปรที่มาผนวกเพื่อแสดงถึงสถานภาพและศักยภาพของพื้นที่ FOR คือ

                  สถานภาพปกคลุมของพื้นที่ปาไม (ขณะดำเนินการศึกษา) MIN คือ ศักยภาพการทำเหมืองแร
                  (ขณะดำเนินการศึกษา) การกำหนดชั้นคุณภาพลุมน้ำของประเทศไทย ไดจัดแบงชั้นคุณภาพลุมน้ำ
                  ออกเปน 5 ชั้น โดยมีลักษณะสังเขปดังนี้ พื้นที่ชั้นคุณภาพลุมน้ำที่หนึ่ง เปนพื้นที่สูงอยูตอนบนของลุมน้ำ
                  ภูเขาสูงชัน หุบเขา หนาผา ความลาดชันสูง (มากกวา 50 เปอรเซ็นต) มีลักษณะและสมบัติ







                  แผนการใชที่ดินลุมน้ำหลักแมน้ำแมน้ำเพชรบุรี-ประจวบคีรีขันธ
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36